บทที่ 3 การผลิตสินค้าเกษตร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 13 ธุรกิจการเกษตร
Advertisements

หมวดหมู่ข้อมูล ข้อมูลด้านพลังงาน ข้อมูลด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ความสำคัญของการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
Training Management Trainee
BA2301 หลักการตลาด การค้าปลีกและการค้าส่ง
ระบบสารสนเทศแผนงานบำรุงทาง
ต้นทุน(บาท/กิโลกรัม)
บทที่ 4 การแปรรูป และการผลิตสินค้าอาหาร
Principles of Agricultural Marketing By AJ.Nithicha Thamthanakoon
Group 1 Proundly Present
Competition Strategy between Proprietary and Open Source Software and Intensity of Piracy Monitoring การแข่งขันระหว่างซอฟแวร์ระบบปิดและ ระบบเปิดและระดับการป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์
ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
การบริหารสินค้าของร้านค้าปลีก (Management of retail products)
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของไทย
Chapter4 Logistic & Supply chain Management
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
Business Information System ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
EC411 ทฤษฏีและนโยบายการเงิน
บทที่ 11 กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategies)
ภาพรวมการตลาด ความหมายของการตลาด และ ตลาด ระบบตลาด แนวคิดทางการตลาด
หน้าที่ของสมาชิกสหกรณ์
ตำบลนาตงวัฒนา อำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร
Analyzing The Business Case
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
เศรษฐกิจและสังคมการผลิตพืช ผู้สอน: รศ. วัชรินทร์ ซุ้นสุวรรณ
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
The 5 most satisfied items
ส่วนที่1 แนวความคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Computer Application in Customer Relationship Management
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ ของขวัญปีใหม่ในปี 2547
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
มาตรการควบคุมสินค้าและบริการควบคุม ปี 2554 รายการสินค้าและบริการควบคุม
การทำธุรกิจแบบยั่งยืน การตลาดแบบแม่ไก่อารมณ์ดี
ทักษะการตัดสินใจ นัทธี จิตสว่าง 28 มีนาคม 2553.
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อ32204
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
บทที่ 2 หลักการดำเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร
การเปรียบเทียบสินค้าส่งออก ของไทยกับกลุ่มประเทศอาเซียน
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
การวัดการวิจัยในการตลาด
บทที่ 7 การดำเนินการผลิตในระบบอุตสาหกรรมเกษตร
บทที่1 การบริหารการผลิต
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
ความเชื่อมั่น ความดูดีในอีก ระดับ ความเป็นผู้นำ ความแตกต่างที่ เป็นจุดเด่น การบ่งบอกถึง คุณภาพ.
Acquisition Module.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 การผลิตสินค้าเกษตร 119331 หมู่ 1 อ.ณิธิชา ธรรมธนากูล

กระบวนการเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร แหล่งขายส่ง และขายปลีก ผู้บริโภค สินค้าอาหาร Farm: ไร่ นา สวน Raw Farm Product รวบรวม ขนส่งตลาด เก็บรักษา แปรรูป บรรจุภัณฑ์ จัดสินค้า ตั้งราคา Food Consumer และผู้ทำ Food Marketing ต้องเข้าใจ  การเกษตรกรรม  ปัญหาของเกษตรกร เกษตรกรต้องเข้าใจ  Food Market  Food Consumer

3.1 การผลิตสินค้าเกษตร สินค้าเกษตร => มีลักษณะพิเศษของตัวมันเอง => ต้องการบริการต่างๆ จากคนกลางไม่เท่ากัน => ต้องให้ความสนใจตั้งแต่ระดับฟาร์ม

การผลิตสินค้าเกษตรในประเทศไทย เนื้อที่ถือครองทางการเกษตรจำแนกตามภาค

ลักษณะการถือครองพื้นที่ทางการเกษตร

ลักษณะการถือครองพื้นที่ทางการเกษตร รายภาค

เรื่องของข้าวรวม

เรื่องของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

เรื่องของสัปปะรด

เรื่องของมะเขือเทศ

ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ ปี GDP-ag GDP-Nonag Change rate 2542 435,507 4,201,572 - 2543 444,185 4,478,546 31.92 2544 468,905 4,664,597 7.53 2545 513,094 4,932,949 6.07 2546 595,004 5,335,358 4.91 2547 648,999 5,927,024 10.96

ภาวะเศรษฐกิจของไทย ที่มา : www.bot.or.th,2007

รายได้ของเกษตรกร

รายได้ของเกษตรกร/ครัวเรือน/ปี

ขนาดการถือครองที่ดินของเกษตรกร

3.2 ลักษณะของผลิตผลเกษตร 3.2 ลักษณะของผลิตผลเกษตร 1. เป็นวัตถุดิบในกระบวนการแปรรูป 2. เน่าเสียง่าย และบางชนิดใช้เนื้อที่ในการขนส่งมาก 3. มีคุณภาพแตกต่างกัน

1. เป็นวัตถุดิบในกระบวนการแปรรูป กระบวนการแปรรูป => Lowly Complex => Highly Complex ผลผลิต ณ ฟาร์ม === อาหารที่ผู้บริโภคกิน กระบวนการตลาดจะเริ่มตั้งแต่ฟาร์มจนสินค้าถึงมือผู้บริโภคคนสุดท้าย

2. บางชนิดใช้เนื้อที่มาก และเน่าเสียง่าย ใช้เนื้อที่มาก กระทบต่อการขนส่งและการเก็บรักษาส่งผลให้ต้นทุนในการขนส่งและเก็บรักษาแพง เน่าเสียง่าย ต้องพิจารณาเวลาในการเก็บรักษา หรือในบางชนิดต้องรีบขนส่งให้ถึงมือผู้บริโภคเร็วที่สุด (การใช้ห้องเย็น) กระบวนการทางการตลาด => แตกต่างกัน

3. มีคุณภาพแตกต่างกัน แตกต่างกันในแต่ละปี & แตกต่างกันในแต่ละฤดูกาล กระบวนการตลาดแตกต่างกัน เช่น บางปี หากข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ไม่สามารถออกได้ตามฤดูกาล กระบวนการผลิตอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ก็จะล่าช้า คุณภาพแตกต่างกัน แต่เป็นสินค้าชนิดเดียวกัน ผู้ซื้อจึงมักใช้เหตุผลนี้ในการกดราคา

สามารถแก้ไข เพื่อลดต้นทุนได้ หากรู้จักวางแผนการตลาดไว้ล่วงหน้า บวกประสบการณ์ และเทคโนโลยี

3.3 ลักษณะของการผลิตสินค้าเกษตร 3.3 ลักษณะของการผลิตสินค้าเกษตร 1. แตกต่างกันในแต่ละปี เนื่องจาก - ราคาผลผลิตในปีที่ผ่านมา - นโยบายของรัฐบาล - ปัจจัยอื่นๆ ที่ไม่สามารถควบคุมได้ เช่น อากาศ ศัตรูพืช และโรคพืช ส่งผลกระทบต่อ - Market system’s Capacity - ราคาขาย อาจต้องใช้การเก็บรักษา เข้าช่วย เกษตรกร ตัวแทนทางการตลาด และโรงงานต้องประมาณความต้องการของตลาดให้ดีจึงจะลดความเสี่ยงและความไม่แน่นอนในส่วนนี้ได้

3.3 ลักษณะของการผลิตสินค้าเกษตร 3.3 ลักษณะของการผลิตสินค้าเกษตร 2. แตกต่างกันในแต่ละฤดูกาล Single - Harvest Product => จำเป็นต้องมีการเก็บรักษาจนกระทั่งถึงมือผู้บริโภคคนสุดท้ายหรือหากไม่สามารถเก็บรักษาได้ ก็ต้องใช้การขนส่งให้ถึงมือผู้บริโภคโดยเร็ว หรือเข้าสู่กระบวนการแปรรูป => ส่งผลกระทบต่อต้นทุน

ปัจจุบัน การพัฒนาสายพันธุ์ ระบบการดูแลรักษา การขนส่งที่รวดเร็ว และ การเก็บรักษาโดยใช้ห้องเย็น รวมถึงระบบการตลาดที่ยืดหยุ่น มีระบบการจัดการในเรื่องของความห่างไกล และความแตกต่างของพื้นที่ ช่วยลดปัญหาได้

Changes in farm and agribusiness firms Old Concept Product, sell commodities Market staple products Sell product, give away service Impersonal, open markets Adversarial relationship of suppliers and purchasers Independence Stability Agriculture as an art form Tradition Open information Public research and development Resource exploitation Emphasis on technical skills Family farming United States as primary world food producer Farm income lower than non-farm population New Concept Product specific attributes and differentiated products Market specialty, niche products Sell service, give away product Personal, negotiated, closed markets Supplier and purchaser partnerships Interdependence High risk Science-based agriculture Innovation Close information system Private, proprietary R&D Resource conservation, protection Emphasis on interpersonal skills Industrialized farming International food competition Farm income comparable to others

3.4 ปัญหาการตลาดของเกษตรกร 3.4 ปัญหาการตลาดของเกษตรกร 1.เกษตรกรไม่สามารถควบคุมปริมาณการผลิตได้ เนื่องจากปัจจัยทางด้านอากาศ และปัจจัยทางชีวภาพ โรค แมลงต่าง ๆ เกษตรกรไม่สามารถควบคุมได้ ผู้บริโภคและผู้ทำหน้าที่ทางการตลาดจึงควรเข้าใจปัญหาของเกษตรกร เกษตรกรไม่สามารถตัดสินใจราคาผลผลิตได้ ตลอดจนปริมาณผลผลิตของตัวเอง

3.4 ปัญหาการตลาดของเกษตรกร 3.4 ปัญหาการตลาดของเกษตรกร 2. The Free-rider Problem นโยบายสนับสนุนไม่สามารถเลือกกลุ่มผู้ได้รับผลประโยชน์ได้ กระบวนการตลาด ควรสนใจตั้งแต่เกษตรเพียงหนึ่งราย จนถึงกลุ่มหรือองค์กรของเกษตรกร

3.4 ปัญหาการตลาดของเกษตรกร 3.4 ปัญหาการตลาดของเกษตรกร 3. ถูกบีบด้านราคาต้นทุน เนื่องจากเงื่อนไขในการแข่งขัน เกษตรกรมักถูกกดราคาจากผู้ซื้อ ในขณะที่ไม่สามารถควบคุมต้นทุนได้ 4. อำนาจต่อรองราคากับผู้ซื้อ เป็นปัญหาที่ต่อเนื่อง ยาวนาน เกิดคำถามที่ว่า “ใครเป็นผู้ควบคุมเกษตรกรรม”

3.4 ปัญหาการตลาดของเกษตรกร 3.4 ปัญหาการตลาดของเกษตรกร 5. การเปลี่ยนแปลงประสิทธิภาพทางด้านราคา ปัจจุบัน การต่อรองราคา การรวมองค์กร ตลอดจนการทำ Contract Farming ไม่สามารถรับประกันได้ว่าเกษตรกรจะได้รับราคาที่เหมาะสมในระยะยาว 6. Gulf between the farmer sector and the food marketing sector เกษตรกรบางรายไม่เลือกที่จะมีส่วนร่วมในกระบวนการทางการตลาด

คำถามของเกษตรกร..... ???? What to produce and how to prepare it for sale ? ผลิตสับปะรดเพื่อส่งโรงงานแตกต่างจากขายให้กับผู้บริโภค ดูความต้องการของผู้บริโภคเป็นหลัก มีผลต่อมูลค่าของสินค้า

คำถามของเกษตรกร..... ???? When and where to buy or sale ? คำถามของเกษตรกร..... ???? When and where to buy or sale ? =>ส่งผลผลิตถูกจังหวะกับความต้องการ ของตลาดย่อมได้ราคาดีกว่า การซื้อถูกจังหวะและสถานที่ย่อมได้ราคา ถูกกว่า =>รู้จักเปรียบเทียบผลดีผลเสีย จะทำให้ได้รับผลตอบแทนสูงสุด

คำถามของเกษตรกร..... ???? How much of the marketing job should be done by farmers themselves, either as individuals or as members of a group ? =>ส่วนหนึ่งเกษตรกรอาจเป็นผู้ทำเอง และบางส่วนเป็นหน้าที่ของระบบตลาด

คำถามของเกษตรกร..... ???? What can be done to expand markets? คำถามของเกษตรกร..... ???? What can be done to expand markets? =>ควรรู้ว่าปัจจัยอะไรที่มีผลกระทบต่อผู้บริโภคและพฤติกรรมผู้บริโภค เพื่อตัดสินใจว่าจะทำอะไรหรือต้องทำอะไร How can changes necessary to correct undesirable practices be secured ? =>การแทรกแซงของรัฐบาลควรมองภาพในระยะยาวด้วย

คำถามของเกษตรกร..... ???? Which marketing arrangement desirable ? คำถามของเกษตรกร..... ???? Which marketing arrangement desirable ? =>ควรนำเสนอวิธีการขายที่แตกต่าง หรือรับประกันได้ว่าจะเป็นที่ยอมรับของตลาด เพื่อให้ได้ผลตอบแทน (ต้องพิจารณาข้อดีข้อเสียให้รอบคอบ)

Marketing Alternatives for Farmers Delivery (sales) Alternatives Processing Plant Commission House, Broker Auction House Terminal Market Farmers Market, Roadside

Marketing Alternatives for Farmers Storage Alternatives On-Farm storage Commercial Facility Government Program

Marketing Alternatives for Farmers Product Form Alternatives Raw Farm Product Semi-Processed Branded Product

Marketing Alternatives for Farmers Group Marketing Individual Seller Cooperative Marketing Agreement Bargaining Association

Pricing Alternatives Marketing Alternatives for Farmers Cash Sale Forward Contract Hedge Options Delayed Pricing

Marketing Alternatives for Farmers Transport Modes Truck Rail Water Air