หลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements


รองเท้าขาว เป็นสถาบัน ไม่เป็นสถาบัน มีเงื่อนไข/ข้อจำกัด มีคนเข้าร่วม
ENVIRONMENTAL SCIENCE
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
ทะเบียนเกษตรกร กรมส่งเสริมการเกษตร.
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
เทคโนโลยีชีวภาพกับการปรับปรุงพันธุ์
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Physiology of Crop Production
ผลิตสินค้าและบริการ.
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
เทคนิคพื้นฐานในการปรับปรุงพันธุ์พืช
The Nature of technology
93343 หลักโภชนศาสตร์ และอาหารสัตว์
(quantitative genetics)
ผลการจำกัดอาหารในลูกสุกรหย่านมก่อนกำหนด
แผนที่เพื่อการศึกษา ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
วิธีการทางวิทยาการระบาด
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
วิกฤตและโอกาสงานวิจัยข้าวไทย รศ. ดร
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
Strategy Plan  ออม  การลงทุน  แก้ความจน ช่วยสังคม  เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย กำไร ความเข้มแข็ง ความ มั่นคง ทางการเงิน อย่างสมดุล / ยั่งยืนต่อเนื่อง ความเข้มแข็ง.
การประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
การผสมเทียม นางแก้วตา สุเดชมารค วิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง ปี 2550 กรมส่งเสริมการเกษตร
ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิกฤตคุณภาพอุดมศึกษาไทย
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
ความหลากหลายทางพันธุกรรม คุณลักษณะ และ รูปแบบการถ่ายทอด
วิธีการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา
การจัดการเกี่ยวกับรูปภาพตอนที่ ๑ การจัดการเกี่ยวกับภาพเพื่อนำภาพมาใช้ ประกอบงาน การจัดการเกี่ยวกับภาพเพื่อนำภาพมาใช้ประกอบ งาน มีอยู่หลายวิธีขึ้นอยู่ กับ.
โดย ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
กลุ่มที่ 2 เขต 2, 3 และ 4.
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส
การประมาณค่าพารามิเตอร์ทางพันธุกรรมและแนวโน้มทางพันธุกรรมของสมรรถนะการเจริญเติบโตและผลผลิตไข่ในไก่พื้นเมืองไทย (ประดู่หางดำ) วุฒิไกร บุญคุ้ม, มนต์ชัย ดวงจินดา,
Genetic drift Before: 8 RR 0.50 R 8 rr 0.50 r After: 2 RR 0.25 R 6 rr
การจัดการข้อมูลเพื่อทดสอบพันธุ์
เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
Data Collecting for Genetic Improvement in Pig and Chicken
Population genetic พันธุศาสตร์ประชากร.
เทคนิคการพัฒนาวิจัยเชิงพื้นที่
บทที่ 2 หลักการดำเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
สถานีวิจัยทดสอบพันธ์สัตว์นครพนม 30 มิถุนายน 2557
หลักการคัดเลือกพันธุ์สัตว์ Principle of Selection
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
อ.ดร. จิรวัฒน์ สนิทชน ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรเกษตร
Animal Breeding and Improvement การปรับปรุงพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารช่วยให้การทำงานรวดเร็วถูกต้องและแม่นยำ
Mating System Asst.Dr.Wuttigrai Boonkum Department of Animal Science
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 015221 Animal Science and Technology หลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ (Animal Breeding) ศกร คุณวุฒิฤทธิรณ พรรณวดี โสพรรณรัตน์ ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Email: agrpds@ku.ac.th Homepage http://pirun.ku.ac.th/~agrpds/

หนังสืออ่านประกอบ การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ สมชัย จันทร์สว่าง Understanding Animal Breeding. R.M. Bourdon Animal Science and Industry. Merle Cunningham and Duane Acker. Modern Livestock & Poultry Production. James R. Gillespie.

บทที่ 2 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ บทที่ 2 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม บทที่ 3 การคัดเลือกและระบบการผสมพันธุ์ บทที่ 4 เทคโนโลยีชีวภาพกับการปรับปรุงพันธุ์

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ (Introduction to Animal Breeding)

แนวโน้มของความต้องการบริโภคผลิตภัณฑ์จากสัตว์ ของประชากรโลก ประชากรมนุษย์ (จำนวน และ ความมั่งมี) ความต้องการตามธรรมชาติ ความปรารถนา ความต้องการบริโภคผลิตภัณฑ์จากสัตว์ (เนื้อ, นม, ไข่, ขน, หนัง, เขา, ไขมัน, กีฬา, ฯลฯ) การผลิตสัตว์ (โค, สุกร, แพะ, แกะ, สัตว์ปีก, ม้า, ฯลฯ)

ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการผลิตปศุสัตว์ นโยบายรัฐบาล ชุมชน/สังคม ระบบเศรษฐกิจ ผู้ประกอบการ (Manager) การจัดการ ทรัพยากร (Resources) สัตว์ (Animals)

ลดต้นทุนการประกอบการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต พันธุกรรม อาหาร การจัดการ ลดต้นทุนการประกอบการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต

การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ เป็นการประยุกต์ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เพื่อปรับปรุงพันธุกรรมของตัวสัตว์ การปรับปรุงพันธุ์สัตว์Animal Breeding พันธุศาสตร์เบื้องต้น พันธุศาสตร์ประชากร Simple (Mendelian) Genetics & Population Genetics พันธุศาสตร์ปริมาณQuantitative Genetics พันธุศาสตร์โมเลกุล Molecular Genetics

ลูกตัวเมียทดแทนฝูง แม่ พ่อ แม่ พ่อ เป็นการประยุกต์ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เพื่อปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงพันธุกรรมของตัวสัตว์ เพื่อให้ได้สัตว์รุ่นลูก (โดยเฉลี่ย) มีลักษณะที่พึงประสงค์ “ดีกว่า” ค่าเฉลี่ยของสัตว์รุ่นพ่อ-แม่

ข้อควรพิจารณาในการพัฒนาพันธุกรรมของสัตว์ ต้องการสัตว์ที่มีลักษณะอย่างไร? “No best animal for all situations.” ลักษณะนั้น ๆ มีความสำคัญอย่างไร? ลักษณะนั้น ๆ วัดค่าได้หรือไม่ อย่างไร? การแสดงออกของลักษณะนั้น ๆ สัมพันธ์กับการแสดงออก ของลักษณะอื่น ๆ หรือไม่ อย่างไร? การแสดงออกชองลักษณะนั้น ๆ เป็นผลมาจากอิทธิพล ทางพันธุกรรมเพียงไร?

ขั้นตอนในการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ การคัดเลือก วางแผนการปรับปรุงพันธุ์ ผสมพันธุ์ ประเมินค่าทางพันธุกรรม วัตถุประสงค์ของการปรับปรุงพันธุ์

ศัพท์เบื้องต้นทางการปรับปรุงพันธุ์ที่ควรทราบ Trait ลักษณะที่สังเกตได้ Phenotype (ลักษณะปรากฏ) ประเภทหรือระดับการแสดงออกลักษณะใดๆ ของสัตว์ สีขน น้ำหนักแรกเกิด ขาว ดำ น้ำตาล 25, 30, 32 กก. Genotype รูปแบบของยีนหรือรูปแบบทางพันธุกรรม Environmental effects อิทธิพลจากปัจจัยภายนอกอื่นที่ ไม่ใช่พันธุกรรมที่มีต่อสมรรถภาพในการแสดงออกซึ่งลักษณะใดๆ ของสัตว์แต่ละตัว

P = G + E Phenotype = Genotype + Environmental Effects ลักษณะปรากฎ = รูปแบบทางพันธุกรรม + อิทธิพลจากสิ่งแวดล้อม P = G + E + G x E Phenotype = Genotype + Environmental Effects + Genotype by environment interactions (ปฏิกิริยาร่วมระหว่างยีนกับสิ่งแวดล้อม)

(commercial producers) Breeding Objectives and Industry Structure seedstock Germ Plasm Elite Breeders Multipliers End Users (commercial producers)

จะปรับปรุงประชากรสัตว์ได้อย่างไร การคัดเลือก (Selection):กระบวนการในการกำหนดให้สัตว์ตัวไหนที่จะมีโอกาสได้ขยายพันธุ์ (เป็นพ่อหรือแม่) จะให้ลูกจำนวนกี่ตัว และกำหนดระยะเวลาที่จะอยู่เป็นพ่อหรือแม่พันธุ์ การคัดเลือกตามธรรมชาติ (Natural selection)- การคัดเลือกโดยมนุษย์ (Artificial selection) ลักษณะปรากฏ ความสามารถทางพันธุกรรม

ระบบการผสมพันธุ์(Mating systems) (mating non-relative) Close breeding (mating relative) Outbreeding (mating non-relative) Inbreeding Line breeding Crossbreeding Outcrossing Backcrossing Topcrossing Grading up

เครื่องมือพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนักปรับปรุงพันธุ์สัตว์ ในการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงพันธุกรรมคือ การคัดเลือก การผสมพันธุ์