งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Mating System Asst.Dr.Wuttigrai Boonkum Department of Animal Science

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Mating System Asst.Dr.Wuttigrai Boonkum Department of Animal Science"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Mating System Asst.Dr.Wuttigrai Boonkum Department of Animal Science
Faculty of Agriculture, KKU

2 Mating System Mating system หรือ ระบบการผสมพันธุ์สัตว์ หมายถึง :: กระบวนการหรือวิธีการเลือกคู่ผสมพันธุ์ของสัตว์โดยมีการตัด สินใจที่ชัดเจน :: วัตถุประสงค์ของการวางระบบการผสมพันธุ์สัตว์ คือ 1.) เพื่อรักษาความเป็นธรรมชาติดั้งเดิม (uniform, wild animal) 2.) เพื่อสร้างสัตว์สายพันธุ์ใหม่ (New Animal, ล่อ liger) 3.) เพื่อรักษาความเป็นพันธุ์แท้ (Pure breed, native animal) 4.) เพื่อเพิ่มระดับเลือดของพันธุ์ (Up grading) 5.) เพื่อหลีกเลี่ยงเลือดชิด (Avoidable Inbreeding) 6.) เพื่อต้องการความดีเด่นเหนือพ่อแม่ (Heterosis)

3 Mating System Mating System Non-random mating Random mating Inbreeding
Outbreeding Selfing Sibling Sire-offspring Linebreeding Outcrossing Linecrossing Grading Up Species crossing Crossbreeding Synthetic crossing 2-Breed crossing 3-Breed crossing Sequence crossing Backcross 2-Breed Rotational crossing 3-Breed Rotational crossing

4 Random mating vs Non-random mating
คือ การผสมพันธุ์ที่สัตว์ทั้งตัวผู้และตัวเมียมีโอกาส ผสมพันธุ์กับสัตว์ตัวใดก็ได้ โดยเป็นไปอย่างสุ่ม Non - random mating คือ การผสมพันธุ์ที่สัตว์ทั้งตัวผู้และตัวเมียไม่มีโอกาส ผสมพันธุ์กับสัตว์ตัวใดก็ได้ อาจเกิดจากหลาย สาเหตุ เช่น

5 Non - random mating มีคนเข้าไปจัดการ เช่น การผสมเทียม การคัดเลือก
มีคนเข้าไปจัดการ เช่น การผสมเทียม การคัดเลือก โรคระบาด

6 Non - random mating Non – random mating สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่คือ Inbreeding Outbreeding

7 Inbreeding ข้อดี ข้อเสีย ยีนมรณะหรือ ยีนที่ผิดปกติต่างๆ
 เพิ่มความเหมือนทางพันธุกรรม (homozygous) ข้อเสีย  เกิดความเสื่อมของลักษณะ (Inbreeding depression) หมายถึง เพิ่มโอกาสของการแสดงลักษณะด้อยที่ควบคุมด้วย ยีนมรณะหรือ ยีนที่ผิดปกติต่างๆ

8 Inbreeding Inbreeding สามารถแบ่งเป็นระบบการผสมพันธุ์ย่อยได้ดังนี้
อะมีบา Selfing หรือ Self-fertilization Cloning Sibling Sire – offspring Linebreeding Human cloning Fullsib Halfsib Dolly sheep

9 Inbreeding Inbreeding สามารถแบ่งเป็นระบบการผสมพันธุ์ย่อยได้ดังนี้
Sire – offspring Linebreeding Sire-daughter mating (frozen semen) Dam Line1 Line2 Daughter Grand Daughter Great-Grand Daughter

10 Outbreeding ไม่เป็นเครือญาติกัน ไม่มีบรรพบุรุษร่วมกัน ข้อดี ข้อเสีย
 เพิ่มความแตกต่างทางพันธุกรรม (heterozygous)  สร้างสัตว์ที่มีลักษณะดีเด่นเหนือกว่าพ่อแม่ (heterosis or hybrid vigor) ข้อเสีย  พันธุกรรมดั้งเดิมสูญหายไป (genetic loss; AA, aa)

11 Outbreeding Outbreeding สามารถแบ่งเป็นระบบการผสมพันธุ์ย่อยได้ดังนี้
Unknown > 4 ancestor Outcrossing Crossbreeding** Linecrossing Grading up Species cross (hybridization) Seedstock breeders or Pure breed

12 Outbreeding Outbreeding สามารถแบ่งเป็นระบบการผสมพันธุ์ย่อยได้ดังนี้
InBreedLine1 InBreedLine2 Outcrossing Crossbreeding Linecrossing Grading up Species cross (hybridization) เป็นระบบการผสมพันธุ์แบบเพิ่มเลือดชิดภายในสาย จากนั้นจะนำแต่ละสายมาผสมพันธุ์กันเพื่อเป็นการ เพิ่ม heterosis เป็นระบบที่ดัดแปลงมาจากการผสมพันธุ์ข้าวโพด ใช้หลักการของ G = A + D + I เข้ามาเกี่ยวข้อง

13 Outbreeding Outbreeding สามารถแบ่งเป็นระบบการผสมพันธุ์ย่อยได้ดังนี้
A: Sire 100% B: Dam 100% Outcrossing Crossbreeding Linecrossing Grading up Species cross (hybridization) A: Sire 100% A: 50%B: 50% A: Sire 100% A: 75%B: 25% เป็นระบบการผสมพันธุ์เพื่อเพิ่มระดับสายเลือด สัตว์ลูกผสมจะมีระดับเลือดเพิ่มมากขึ้น จนกลายเป็นพันธุ์แท้ได้ ใช้พ่อพันธุ์เข้าผสมเลือด 100% ในแต่ละชั่วรุ่น

14 Outbreeding Outbreeding สามารถแบ่งเป็นระบบการผสมพันธุ์ย่อยได้ดังนี้
Outcrossing Crossbreeding Linecrossing Grading up Species cross (hybridization) ass horse mule เป็นระบบการผสมพันธุ์สัตว์ต่าง species กัน สัตว์แต่ละ species จะผสมพันธุ์กันได้ต้องมีจำนวนโครโมโซมเท่ากัน มีสรีรวิทยาใกล้เคียงกัน จะได้สัตว์ลูกผสมสายพันธุ์ใหม่ แต่จะเป็นหมันไม่สามารถสืบพันธุ์ต่อได้

15 Outbreeding Outbreeding สามารถแบ่งเป็นระบบการผสมพันธุ์ย่อยได้ดังนี้
Outcrossing Crossbreeding** Linecrossing Grading up Species cross (hybridization) เป็นระบบการผสมพันธุ์ที่นิยมมากระบบหนึ่ง เป็นระบบที่เหมาะสำหรับสร้างสัตว์ที่มีความดีเด่นกว่าพ่อแม่ เป็นระบบที่ต้องมีสัตว์อย่างน้อย 2 สายพันธุ์เข้ามาเกี่ยวข้อง หากต้องการพันธุกรรมของสัตว์พันธุ์ใดมากที่สุด ในลูกรุ่นสุดท้าย ควรจัดสัตว์พันธุ์นั้นเป็นสายพ่อพันธุ์ ควรพิจารณาถึง maternal effect และใช้เพศผู้เป็นน้ำเชื้อดีกว่า เพราะจัดการง่าย

16 Outbreeding Crossbreeding สามารถแบ่งเป็นระบบการผสมพันธุ์ย่อยได้ดังนี้
2-way crossing or 2-breed crossing 3-way crossing or 3-breed crossing Backcross Criss crossing or 2-breed rotational crossing 3-breed rotational crossing เป็นระบบการผสมพันธุ์ที่ใช้สัตว์ 2 สายพันธุ์มาผสมกัน เป็นระบบการผสมพันธุ์สำหรับใช้ผลิตสัตว์ที่มีความดีเด่นเหนือพ่อแม่

17 Outbreeding Crossbreeding สามารถแบ่งเป็นระบบการผสมพันธุ์ย่อยได้ดังนี้
A B 2-way crossing or 2-breed crossing 3-way crossing or 3-breed crossing Backcross Criss crossing or 2-breed rotational crossing 3-breed rotational crossing C AB ABC เป็นระบบการผสมพันธุ์ที่ใช้สัตว์ 3 สายพันธุ์มาผสมกัน เป็นระบบการผสมพันธุ์สำหรับใช้ผลิตสัตว์ที่มีความดีเด่นเหนือพ่อแม่

18 Outbreeding Crossbreeding สามารถแบ่งเป็นระบบการผสมพันธุ์ย่อยได้ดังนี้
A B 2-way crossing or 2-breed crossing 3-way crossing or 3-breed crossing Backcross Criss crossing or 2-breed rotational crossing 3-breed rotational crossing A AB ¾ A ½ B เป็นระบบการผสมพันธุ์ที่ใช้ลูกผสมชั่วแรกเพศเมีย ผสมกลับไปยังพ่อพันธุ์ตัวเดิม ใช้ผลิตสัตว์เพื่อขุนขายเป็นการค้า

19 Outbreeding Crossbreeding สามารถแบ่งเป็นระบบการผสมพันธุ์ย่อยได้ดังนี้
A B 2-way crossing or 2-breed crossing 3-way crossing or 3-breed crossing Backcross Criss crossing or 2-breed rotational crossing 3-breed rotational crossing A ½ A ½ B B ¾ A ½ B เป็นระบบการผสมข้ามสลับระหว่างสัตว์ 2 สายพันธุ์ 3/8 A 5/8 B สลับพ่อพันธุ์ทั้ง 2 สายพันธุ์

20 Outbreeding Crossbreeding สามารถแบ่งเป็นระบบการผสมพันธุ์ย่อยได้ดังนี้
A B 2-way crossing or 2-breed crossing 3-way crossing or 3-breed crossing Backcross Criss crossing or 2-breed rotational crossing 3-breed rotational crossing C ½ A ½ B A ¼A¼B½C เป็นระบบการผสมข้ามสลับระหว่างสัตว์ 3 สายพันธุ์ ABC สลับพ่อพันธุ์ทั้ง 3 สายพันธุ์

21 Heterosis Crossbreeding system
Merit of components ต้องการความดีเด่นอะไร จากสัตว์พันธุ์อะไร Heterosis ระดับ heterosis ที่จะได้มากน้อยแค่ไหน Breed complementary ผสมพันธุ์สัตว์เพื่อเสริมความดีเด่นซึ่งกันและกันหรือไม่ Replacement การหาสัตว์ทดแทนฝูงยากหรือง่าย Accuracy ความแม่นยำในการคัดเลือก

22 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt Mating System Asst.Dr.Wuttigrai Boonkum Department of Animal Science

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google