วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐกิจ พอเพียง.
Advertisements

ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
ผลการปฏิบัติงานตามคำรับรองการปฏิบัติงานของ
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่จัดเก็บภาษี เพื่อส่งเสริมเสถียรภาพทาง การคลัง พัฒนาสังคม และรักษาสิ่งแวดล้อม พันธกิจ 1. เพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษี เพื่อรักษาเสถียรภาพทาง.
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
แนวคิด ในการดำเนินงาน
แผนแม่บทงานวิจัย การสร้างเครือข่าย และการสนับสนุนงานวิจัยเชิงพาณิชย์
โครงสร้างที่ ก.พ. กำหนดไว้เดิม โครงสร้างที่ขอปรับปรุงใหม่
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
เศรษฐกิจสร้างสรรค์บนฐานวัฒนธรรม
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
วิสัยทัศน์ สหกรณ์และสถาบันเกษตรกร มีความเข้มแข็ง เป็นพลังในการพัฒนาประเทศ และสมาชิกอยู่ในสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุข.
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
แผนยุทธศาสตร์สำนักงานประมงจังหวัดปทุมธานี
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 8 : การรักษาความมั่นคงของรัฐ.
ปฏิรูปที่ดิน ปฏิรูปเกษตรกร Management reform
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความก้าวหน้าการจัดทำแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11
พิจารณาทบทวนปรับ ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบนกลุ่ม 3
OSM ประชาชนในกลุ่มจังหวัดได้รับประโยชน์สูงสุด
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
กรอบคิด รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แผนพัฒนาฯฉบับที่ ๑๐-๑๑
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
SPATIAL PLANING : SGA-PEI รศ. ดร
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๑ พ.ศ.๒๕๕๔ - ๒๕๕๙
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
กระบวนทัศน์การบริหาร องค์กรปกครองท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ IMT - GT ในภาพรวม และ Best Practice IMT – GT Plaza แห่งแรก โดย นายสุกิตติ ธนพิทักษ์ หัวหน้าสำนักงานจังหวัดสงขลา.
กลยุทธ์การขับเคลื่อน งานพัฒนาชุมชน ให้มีประสิทธิภาพ ประจำปี ๒๕๕๖
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
บทที่ 3 ผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศ
การทบทวน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัด ปทุมธานี พ. ศ
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน เครือข่ายสภาวัฒนธรรม
การติดตามงานโครงการส่งเสริมการเกษตรครั้งที่ ๓ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔
วิสัยทัศน์ “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความเสมอ ภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง”
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน” แผนพัฒนาจังหวัดพะเยาพ.ศ.๒๕๕๓ - ๒๕๕๖ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๕ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ ส่งเสริมการบริหารจัดการที่ดีของภาครัฐให้มีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ ๑. ประชาชนได้รับการบริการด้านต่าง ๆ จากภาครัฐอย่างทั่วถึงเป็นธรรม และมีคุณภาพ พัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อสร้างรายได้และ ขยายโอกาส ด้านการเกษตร การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว กลยุทธ์ ๑. สร้างโอกาสทางเศรษฐกิจฐานราก สร้างงาน สร้างอาชีพด้วยทุนทางปัญญา ๒. เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ๓. พัฒนาการเกษตรสู่เกษตรปลอดภัยและ อินทรีย์ ๔. ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์และ วัฒนธรรม ๕. ขยายผลโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน” ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๔ พัฒนาสังคมให้สงบสุขและมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน กลยุทธ์ ๑. ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด แรงงานต่างด้าวและการค้ามนุษย์ ๒. ส่งเสริมและสนับสนุนสังคมให้มีความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ๓. ส่งเสริมและสนับสนุนกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหาสังคมและอำนวยความเป็นธรรม ๔. ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมในกิจกรรมสร้างความปรองดองสมานฉันท์และส่งเสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ พัฒนาศักยภาพคนและชุมชนให้มีความเข้มแข็ง กลยุทธ์ ๑. ส่งเสริมสนับสนุนองค์กร ชุมชน เครือข่าย เข้าร่วมการป้องกันและแก้ไขปัญหาของสังคม ๒. พัฒนาศักยภาพประชาชนทุกกลุ่มวัยให้มีภูมิคุ้มกัน สามารถเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม กลยุทธ์ ๑. ส่งเสริมการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเขตป่าเขตชุมชน และเขตเมือง ๒. สนับสนุนการจัดการดินและน้ำ ๓. ส่งเสริมการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วม และใช้พลังงานชีวมวล ๘๒

บริหารราชการในภูมิภาค/ พันธกิจจังหวัดพะเยา ๑. แก้ไขปัญหาหนี้สินและความยากจนโดยการ มีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนตามแนวทางปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ประโยชน์สุข ของประชาชน A D L I ๒. สนับสนุนกิจกรรมเกษตรปลอดภัยและ ขยายพื้นที่ใหม่ที่มีศักยภาพเพื่อการผลิต สินค้าเกษตรสู่ตลาด การบูรณาการ บริหารราชการในภูมิภาค/ ท้องถิ่น ๖. พัฒนาระบบและประสิทธิภาพ การปฏิบัติราชการ ๓. เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน พัฒนาแหล่งเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม ล้านนา พัฒนาภาคเกษตรกรรมและ การท่องเที่ยว ๕. อนุรักษ์ ฟื้นฟู และบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อย่างยั่งยืน ๔. ส่งเสริมให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความมั่นคง ชุมชนเข้มแข็งและอยู่ร่วมกัน อย่างมีความสุข ๘๓

เป้าประสงค์รวมของจังหวัดพะเยา ของประชาชน ประโยชน์สุข ๑. ประชาชนมีรายได้และและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ๒. คงความเป็นเกษตรปลอดภัยในพื้นที่เดิม และขยายพื้นที่เพิ่มเติมในพื้นที่ใหม่ ๓. เพิ่มมูลค่า การค้า การลงทุน การท่องเที่ยว และการส่งออกของจังหวัด ๔. หมู่บ้าน / ชุมชน คิดเป็น ทำเป็น สามารถแก้ปัญหาของตนเองโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนได้อย่างยั่งยืน ๕. ทรัพยากรธรรมชาติ ป่าไม้ แหล่งน้ำ ดิน อุดมสมบูรณ์ รวมถึงทรัพยากรสัตว์น้ำ และสัตว์ป่าและความหลากหลายทางชีวภาพ ๖. มีสิ่งแวดล้อม ที่ปราศจากมลพิษ และลดการเกิดภาวะโลกร้อน ๗. ประชาชนอยู่ในสังคมอย่างสงบสุข มีความมั่นคง ชุมชนเข้มแข็งและอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ๘. ประชาชนได้รับ การบริการด้านต่าง ๆ จากภาครัฐอย่างทั่วถึงเป็นธรรม และ มีคุณภาพ เป้าประสงค์รวมของจังหวัดพะเยา ๘๔