งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กระบวนทัศน์การบริหาร องค์กรปกครองท้องถิ่น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กระบวนทัศน์การบริหาร องค์กรปกครองท้องถิ่น"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 กระบวนทัศน์การบริหาร องค์กรปกครองท้องถิ่น
นายจารุพงศ์ เรืองสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

3 กระบวนทัศน์การบริหาร องค์กรปกครองท้องถิ่น
1. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงท้องถิ่น 2. พัฒนาการเปลี่ยนแปลงของท้องถิ่น 3. ผลกระทบ 4. ปรับกระบวนทัศน์การปกครองส่วนท้องถิ่น - บทบาทผู้นำองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

4 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ การเปลี่ยนแปลงของท้องถิ่น
การเมือง ท้องถิ่น - อบจ. - เทศบาล - อบต. สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม เทคโนโลยี

5 พัฒนาการเปลี่ยนแปลงของท้องถิ่น
สังคมชนบท สังคมชนบท กึ่งเมือง สังคมเมือง

6 สังคม เศรษฐกิจ ผลกระทบ - เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้
- มีการเรียกร้องสูงขึ้น - ครอบครัวเดี่ยว - อาชญกรรมสูงขึ้น ฯลฯ สังคม - มีรายได้สูงขึ้น - ค่าครองชีพสูงขึ้น - โครงสร้างอาชีพเปลี่ยนจากเกษตรกรรม เป็นพาณิชยกรรม อุตสาหกรรมมากขึ้น - เกิดความต้องการแรงงาน เศรษฐกิจ

7 การเมือง สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม
ผลกระทบ การเมือง - พลังประชาชน - เกิดปัญหาระบบนิเวศน์วิทยา - เกิดมลพิษทั้งเรื่องขยะ และสิ่งปฏิกูล น้ำเน่าเสีย มลพิษ ทางอากาศ ฝุ่นละออง สิ่งแวดล้อม - มีวัฒนธรรมต่างถิ่นเข้ามา ทำให้สูญเสียวัฒนธรรม ดั้งเดิม วัฒนธรรม

8 บทบาทผู้นำองค์กรปกครองท้องถิ่น
มีวิสัยทัศน์ ใช้ยุทธศาสตร์นำการพัฒนา ให้ความสำคัญกับการพัฒนาบุคลากร มีภาวะผู้นำ สร้างแรงจูงใจ ก่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของ ประชาชนต่อการพัฒนาท้องถิ่น มีความสามารถในการแสวงหาทรัพยากรเพื่อการพัฒนา บริหารงานด้วยความโปร่งใส

9

10 นโยบายของกระทรวงมหาดไทย กับ การบริหารราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
นายจารุพงศ์ เรืองสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย วันศุกร์ที่ ๒๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ณ สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น จังหวัดปทุมธานี

11 แนวทางการบริหารงานของ มท. ในการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
การสนับสนุนให้ อปท. ปลูกฝังค่านิยมการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นพระประมุข ให้กับประชาชนในท้องถิ่น

12 แนวทางการบริหารงานของกระทรวงมหาดไทย ในการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
การบริหารงานตามหลักการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

13 แนวทางการบริหารงานของกระทรวงมหาดไทย ในการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
ผู้บริหารและข้าราชการ อปท. ต้องทำงานด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต โปร่งใส ปรับระบบการทำงานให้มีประสิทธิภาพ มุ่งตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน รับผิดชอบต่อชุมชน ยึดถือระเบียบและข้อกฎหมายเป็นหลัก

14

15 แนวทางการบริหารงานของกระทรวงมหาดไทย ในการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
การส่งเสริมและสนับสนุน การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน

16 แนวทางการบริหารงานของกระทรวงมหาดไทย ในการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
ประชาชนในท้องถิ่นต้องสามารถเข้าถึงข้อมูล และมีส่วนร่วมในกระบวนการวางแผนการทำงานการจัดบริการสาธารณะ และการติดตามตรวจสอบการดำเนินงานของท้องถิ่น

17 แนวทางการบริหารงานของกระทรวงมหาดไทย ในการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
๔. การสนับสนุนการกระจายอำนาจ สู่ท้องถิ่น

18 แนวทางการบริหารงานของกระทรวงมหาดไทย ในการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ และความเป็นอิสระของ อปท. ในการพึ่งพาตนเอง ตามความจำเป็นและเหมาะสม ตามศักยภาพของ อปท.

19 แนวทางการบริหารงานของกระทรวงมหาดไทย ในการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
การส่งเสริมให้ อปท. สนับสนุน ให้ชุมชน หมู่บ้าน จัดทำแผนชุมชน

20 แนวทางการบริหารงานของกระทรวงมหาดไทย ในการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
โดยให้มีความสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์พัฒนาประเทศ แผนพัฒนาจังหวัดและ กลุ่มจังหวัด เพื่อให้สามารถตอบสนองปัญหาและความต้องการของประชาชน

21 นโยบายที่สำคัญ ของ กระทรวงมหาดไทย

22 ๑. การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

23 ยึดหลักผู้เสพคือผู้ป่วยที่ต้องได้รับ การบำบัดรักษาให้กลับมา
เป็นคนดีของสังคม โดยมีกลไกการติดตามช่วยเหลือ อย่างเป็นระบบ

24 ในสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สนับสนุนโครงการ To Be Number One

25 จัดโครงการบำบัดผู้เสพ โดยเฉพาะกลุ่มเด็ก/เยาวชน
ให้กลับตัวเป็นคนดีของครอบครัว และเป็นคนดีมีคุณภาพของสังคม ผ่านโครงการ “ชุมชนอุ่นใจได้ลูกหลานกลับคืน”

26 งบประมาณที่ อปท. ได้รับการจัดสรร ในการดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ อปท. ได้รับการจัดสรรงบประมาณ เป็นเงิน ๑,๖๔๔.๔๒ ล้านบาท โดยจัดสรรให้กับ อบต. และเทศบาล ทั่วประเทศ เป็นค่าใช้จ่าย สำหรับการฟื้นฟูผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด และฝึกอบรมอาชีพ จำนวน ๓๐๐,๐๐๐ คน เฉลี่ยคนละ ๓,๕๐๐ บาท อบต. ๕,๕๐๙ แห่ง แห่งละ ๓๐ คน เทศบาล ๒,๒๖๖ แห่ง แห่งละ ๕๐ คน

27 บูรณาการงานกับตำรวจและเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของชุมชนให้มีส่วนร่วม
สายงานข่าว - ปกครอง กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน - ตำรวจ - สาธารณสุขตำบล - อปพร. - ประชาชน ชุดจับกุม - ผู้ใหญ่บ้านพื้นที่ - อสม.

28

29 ๖.๓ ทุกส่วนราชการทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค จะต้องดำเนินการ และให้การสนับสนุนการดำเนินงานตามคำสั่งนี้อย่างเต็มที่ โดยระดมความร่วมมือในทุก ๆ ด้านจาก อปท. โดยเฉพาะการสนับสนุนงบประมาณเพื่อ การป้องกันยาเสพติด การบำบัดฟื้นฟู และการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้เสพและผู้ติดยาเสพติด อีกส่วนหนึ่งย

30 ๒. การเร่งนำสันติสุขและความปลอดภัยในชีวิต
๒. การเร่งนำสันติสุขและความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชนกลับสู่จังหวัด ชายแดนภาคใต้

31 ๓. การยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน

32 อปท. ต้องให้ความสำคัญในการจ่าย
เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ/คนพิการ/ผู้ป่วยเอดส์ อย่าให้มีกรณีการทุจริต หรือเกิดความเดือดร้อนแก่ประชาชน

33 ๔. การส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุน

34 เพื่อให้ประชาชนมีเงินทุนตั้งตัว
มีรายได้เพิ่มขึ้น ลดภาระหนี้สินให้พ้นระดับ ความยากจน โดยยึดตำบลเป็นศูนย์ ในการรวบรวมแหล่งเงินทุนจากทุกหมู่บ้าน

35 ๕. การพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์ OTOP

36 อปท. มีการจัดทำแผนพัฒนามาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ OTOP ให้มีคุณภาพ
และกำหนดเป้าหมายอย่างชัดเจน มุ่งเน้นการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ OTOP จากระดับหมู่บ้าน เป็นระดับตำบล ระดับอำเภอ ระดับจังหวัด และไปสู่ระดับสากล

37 ๖. สวัสดิการค่ารักษาพยาบาลของข้าราชการ
พนักงานส่วนท้องถิ่น และลูกจ้าง อปท.

38 ๗. การปรับปรุงบัญชีอัตราเงินเดือน ของข้าราชการ/พนักงานส่วนท้องถิ่น

39 นโยบาย ที่สำคัญ ของรัฐบาล

40 ๑. ร่าง พ.ร.บ.เงินกู้เพื่อลงทุนในโครงสร้าง พื้นฐาน ๒.๒ ล้านล้านบาท
๑. ร่าง พ.ร.บ.เงินกู้เพื่อลงทุนในโครงสร้าง พื้นฐาน ๒.๒ ล้านล้านบาท

41 ๒. การแก้ไขรัฐธรรมนูญ

42 ๓. การเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘
๓. การเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘

43 ๑. การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการ เปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ๒
๑. การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการ เปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ๒. การประชาสัมพันธ์ จัดสัมมนาให้ความรู้ เกี่ยวกับการเป็นประชาคมอาเซียน ๓. การเตรียมความพร้อมในด้านของ ภาษาต่างประเทศ ๔. การจัดกิจกรรมเชื่อมความสัมพันธ์ ๕. การเตรียมตัวรับกระแสการลงทุน

44 ๔. โครงการพัฒนาเมือง

45 ๕. การเพิ่มรายได้ – ลดรายจ่ายของ อปท.

46 ๖. การบูรณาการด้านแผนที่ และการทำ โซนนิ่งสินค้าเกษตร
๖. การบูรณาการด้านแผนที่ และการทำ โซนนิ่งสินค้าเกษตร

47 จบการบรรยาย

48

49


ดาวน์โหลด ppt กระบวนทัศน์การบริหาร องค์กรปกครองท้องถิ่น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google