ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข และตัวชี้วัด ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
การจัดสรรงบประมาณ โครงการเด็กไทยเฉลียวฉลาด ประเทศชาติแข็งแรง
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพ ระดับอำเภอ/ตำบล มุ่งสู่ คปสอ./รพ.สต.ติดดาว
จังหวัดสุพรรณบุรี. วันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๕ เขต มอบนโยบายการจัดทำแผน สุขภาพเขต การประชุมระดับเขต ครั้งที่ ๑ วันที่ ๑๓ – ๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๕ แบ่งการ ดำเนินงานออกเป็น.
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
ความหมายและกระบวนการ
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
แผนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Services Plan) สาขาสุขภาพช่องปาก
เอกสารนำเสนองานควบคุมโรค
แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประเด็นการประชุมกลุ่ม
แนวทางการประเมินมาตรฐาน การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
กลุ่มที่ ๒ โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
การดำเนินงานกรมสุขภาพจิต
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
การขับเคลื่อนเชิงระบบ เพื่อแก้ไขปัญหาฟันผุในเด็ก 0-5 ปี
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการ.
การส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรค ในกลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน
คณะที่ ๑ : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค ประเด็นหลักที่ ๑. ๑
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ระบาดวิทยาและ SRRT.
ดำเนินงานอนามัยวัยทำงาน ปี 2555
แผนบริหารราชการแผ่นดิน และแผนปฏิบัติราชการ กระทรวงสาธารณสุข พ. ศ
ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก
การบริหารและพัฒนาบุคลากร ในหน่วยบริการปฐมภูมิ เขต ๘
การตรวจประเมินรับรอง รอบ 2 มาตรฐานงานสุขศึกษา
แผนงานดูแลผู้สูงอายุ
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
ตัวชี้วัดตามรับรองปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
Pass:
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สกลนครโมเดล.
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
การพัฒนาสุขภาพ : กลุ่มเด็กวัยเรียน
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทางการดำเนินงานปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจ ตัวชี้วัดที่กรมควบคุมโรครับผิดชอบ ในการตรวจราชการกระทรวง สาธารณสุข ปี กุมภาพันธ์ 2556.
กำหนดตรวจราชการฯ (M&E) สสจ.เพชรบุรี เลื่อนจาก วันที่ 16 พฤษภาคม 2557 เป็นวันที่ 28 พฤษภาคม 2557.
แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุของพัทลุง
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
เสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรกระทรวงสาธารณสุขทุกระดับ
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
โครงการบริหารจัดการคลังวัคซีนสำรองเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๕๘.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดระนอง Ranong Provincial Health Office ภารกิจที่ ๑ ประเด็นหลัก ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค หัวข้อ ๑.๑.๒การส่งเสริมป้องกันควบคุมโรคในกลุ่มเด็กปฐมวัย ตัวชี้วัด ๑. ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย(ไม่น้อยกว่า ๘๕) ๒. ร้อยละของเด็กปฐมวัยมีปัญหาฟันน้ำนมผุ(ไม่เกิน ๕) ๓. ร้อยละของศูนย์เด็กเล็กคุณภาพระดับดีและดีมาก(ไม่น้อยกว่า ๗๐) ๔. ร้อยละของเด็ก๓-๕ ปี ได้รับวัคซีนทุกประเภทตามเกณฑ์(ไม่น้อยกว่า๙๐) ๕. ร้อยละของเด็ก๓-๕ ปีมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน(ไม่น้อยกว่า๗๐) ๖. ร้อยละของเด็ก ๓-๕ ปีได้รับการตรวจพัฒนาการสมวัย(ไม่น้อยกว่า๘๐)

สถานการณ์และสภาพปัญหา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดระนอง Ranong Provincial Health Office สถานการณ์และสภาพปัญหา ๑. ด้านส่งเสริมสุขภาพ จากการประเมินพัฒนาการ ภาวะโภชนาการ และสำรวจสภาวะทันตสุขภาพของจังหวัดระนอง ปี ๒๕๕๕ ของเด็ก ๐ – ๕ ปี พบว่า

ประเมินพัฒนาการและภาวะโภชนาการ ๐-๕ปี

สำรวจสภาวะทันตสุขภาพปี๒๕๕๕ 55.37

สถานการณ์ศูนย์เด็กเล็กตามเกณฑ์มาตรฐานศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ อำเภอ จำนวน ศูนย์เด็กเล็ก ปรับปรุง พื้นฐาน ระดับดี ระดับดีมาก ร้อยละดี+ดีมาก เมือง ๑๕ ๑ ๗ ๐ ๔๖.๖๗ กระบุรี ๑๖ ๕ ๔ ๖ ๕๒.๕๐ กะเปอร์ ๓ ๒ ๕๐.๐๐ ละอุ่น ๘๐.๐๐ สุขสำราญ ๔๒.๘๖ รวม ๔๙ ๑๙ ๒๐ ๕๕.๑๐

๒.สถานการณ์และปัญหาด้านสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค จังหวัดระนองเป็นจังหวัดที่มีชายแดนติดต่อกับประเทศพม่า มีแรงงานต่างด้าวอพยพเข้ามาหางานทำเป็นจำนวนมาก ซึ่งแรงงาน 1 คนจะมีผู้ติดตามเฉลี่ย 3-4 คนส่วนใหญ่จะเป็นเด็กและผู้หญิง ผู้ติดตามดังกล่าวจะไม่ได้รับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคจากรัฐบาลพม่า เมื่อเข้ามาในพื้นที่จังหวัดระนองโดยนำโรคเข้ามาด้วย ส่งผลให้การเกิดระบาดในจังหวัดระนอง

จังหวัดระนองเป็น 1 ใน 3 จังหวัดทางภาคใต้ ที่ได้รับการคัดเลือกในการสำรวจความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานของเด็กอายุ 0-5 ปี และวัคซีนในเด็กนักเรียน ซึ่งสำนักโรคติดต่อทั่วไปและสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่11 นครศรีธรรมราช ดำเนินการสำรวจความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานและวัคซีนในนักเรียนในพื้นที่จังหวัดระนอง ระหว่างวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2556 – 9 มีนาคม 2556

กระบวนการวางแผนการดำเนินงานปี ๒๕๕๖ ด้านการส่งเสริมสุขภาพในเด็ก ๓-๕ ปี ทุกอำเภอมีการวางแผนการดำเนินงานสร้างความรู้ความตระหนักในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก และพัฒนาศูนย์เด็กเล็กคุณภาพแบบองค์รวมและชุมชนมีส่วนร่วม และแก้ปัญหาฟันน้ำนมผุในเด็กปฐมวัย ด้านสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ๑.จัดทำโครงการอบรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคให้แก่เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ทุกรพ.สต. ๒.ออกสุ่มประเมินความครอบคลุมการได้รับวัคซีนดำเนินการทุกคปสอ. คปสอ.ละ 30ตัวอย่าง

การกำหนดกลุ่มเป้าหมายและมาตรการในการแก้ปัญหา ด้านการส่งเสริมสุขภาพในเด็ก ๓-๕ ปี ๑. กำหนดเป้าหมายรายอำเภอในการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กให้ผ่านตามเกณฑ์มาตรฐานระดับดี/ดีมาก เพิ่มมากขึ้น ๒. เร่งรัดให้ดำเนินการตามตัวชี้วัดศูนย์เด็กเล็กคุณภาพระดับดีและดีมาก ๓. มีแผนในการติดตามประเมินผล ด้านสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก ๓-๕ ปี อบรมเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ทุกรพ.สต./รพ/สสอ.

กลวิธีดำเนินงาน ด้านการส่งเสริมสุขภาพในเด็ก ๓-๕ ปี ๑. ดำเนินการคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการในศูนย์เด็กเล็ก ๒. เด็กพัฒนาการล่าช้า ส่งต่อประเมินและแก้ไขพัฒนาการ ๓. ประชุมทีมประเมินศูนย์เด็กเล็กระดับจังหวัด ๔. ประเมินมาตรฐานศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ ๕. ส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพใช้ฟลูออไรด์วานิชในกลุ่มที่มีความเสี่ยงในการเกิดโรคฟันผุ ๖. สำรวจสภาวะทันตสุขภาพในกลุ่มเด็ก ๓ ปี

กลวิธีดำเนินงานด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค นิเทศงานเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของรพ.สต. ดำเนินการโดยสสอ./สสจ./รพ. อบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ทุกรพ.สต. ออกสุ่มประเมินความครอบคลุมการได้รับวัคซีนดำเนินการทุกคปสอ. คปสอ.ละ ๓๐ ตัวอย่าง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดระนองร่วมกับสคร.ที่11นครศรีธรรมราชออกนิเทศงานและประเมินผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคได้แก่ระบบลูกโซ่ความเย็น ระบบรายงาน การให้บริการวัคซีนแก่กลุ่มเป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน (ตุลาคม๕๕-๓๑มกราคม๕๖) ตัวชี้วัด ร้อยละ ๑. ร้อยละของเด็ก ๓- ๕ ปีได้รับการตรวจพัฒนาการตามวัย (ไม่น้อยกว่า ๘๐) ๙๘.๐๘ ๒. ร้อยละของเด็ก ๓-๕ ปีที่มีพัฒนาการสมวัย (ไม่น้อยกว่า๘๕) ๙๗.๙๒ ๓. ร้อยละของศูนย์เด็กเล็กคุณภาพระดับดีและดีมาก (ไม่น้อยกว่า ๗๐) - ผ่านเกณฑ์มาตรฐานระดับดี/ดีมาก - ผ่านเกณฑ์คุณภาพ ๕๕.๑๐ - ๔. ร้อยละของเด็ก ๓-๕ ปี มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ๘๖.๒๗ ๕. ร้อยละเด็ก ๓ปีมีปัญหาฟันน้ำนมผุ(ไม่เกิน ๕๗) สำรวจมิย.๕๖ ๖. ร้อยละของเด็ก ๓-๕ ปี ได้รับวัคซีนทุกประเภทตามเกณฑ์(ไม่น้อยกว่า ๙๐) ๙๕.๔๖

สิ่งที่ต้องการสนับสนุนด้านสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก ๓-๕ ปี ๑ เอกสารแผ่นพับ ๒ ภาษา ๒ วิทยากรจากส่วนกลาง

แผนงาน / โครงการ ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ แผนงาน/โครงการ งบ PP(บาท) งบ Non UC (บาท) สปสช. (บาท) รวม ๑๕ แผนงาน ๑๗๑,๒๒๐ ๑๑,๑๒๕ ๒๒๔,๓๓๕ ๔๐๖,๖๘๐

สวัสดี