เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
Advertisements

การบริหารจัดการภาครัฐ ( PMQA: Public Sector Management Quality Award )
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หมวด2 9 คำถาม.
หมวด7 15 คำถาม.
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ประเด็น หลักที่ 4 การบริหาร จัดการระบบ สุขภาพ. 4.1 การ บริหาร การเงินการ คลัง CFO.
HA 2011 overall scoring และการนำไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพรพ.
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) KICK OFF.
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
29 March 05Why Baldrige เสนอคุณค่าเพิ่ม เพื่อเริ่มทำ เกณฑ์บัลดริจการศึกษา : เสนอคุณค่าเพิ่ม เพื่อเริ่มทำ.
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การวางแผนยุทธศาสตร์.
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
การทบทวนตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย แผนยุทธศาสตร์ ประจำปี 2555 สสจ
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ P C Primary Care Award A

กรอบระบบคุณภาพของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ P. ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 7. ผลลัพธ์ 7.1ด้านประสิทธิผล 7.2ด้านคุณภาพบริการ 7.3ด้านประสิทธิภาพ กระบวนการ 7.4ด้านการพัฒนา องค์กรเครือข่าย บริการปฐมภูมิ 1. การนำ องค์กร 3. การให้ความสำคัญ กับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. ระบบบริการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 6.1 กระบวนการให้บริการที่สร้างคุณค่า ของระบบบริการปฐมภูมิ -การจัดระบบบริการสุขภาพโดยรวมฯ -การบริการปฐมภูมิระดับบุคคลและครอบครัวฯ -การดูแลสุขภาพกลุ่มประชากร -การสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกับองค์กรชุมชน 6.2 กระบวนการสนับสนุนการให้บริการ ที่สร้างคุณค่าของระบบบริการปฐมภูมิ -การจัดระบบสนับสนุนบริการ -การสนับสนุนและมีส่วนร่วมของท้องถิ่น ชุมชน หน่วยงานต่างๆ

ระดับการพัฒนาคุณภาพหน่วยบริการปฐมภูมิ เข้าสู่กระบวนการ : มีการทำความเข้าใจกับเกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ และมีการประเมินตนเอง ขั้นที่ 1 : รู้จักตนเอง ทราบปัญหาสุขภาพ และความเสี่ยงที่สำคัญและมีการจัดการ ปัญหาความเสี่ยงที่สำคัญ ขั้นที่ 2 : วิเคราะห์หาสาเหตุ มีแนวทางมาตรการแก้ไขปัญหาความเสี่ยงที่สำคัญ รวมทั้งปัญหาและความเสี่ยงที่สำคัญได้รับการแก้ไข ขั้นที่ 3 : 1.เชื่อมโยงผลงานกับผลลัพธ์สอดคล้องกับสภาพปัญหาของพื้นที่ 2.มีระบบงานและแนวทางที่สำคัญ และมีการนำเอามาตรฐาน PCA สู่การปฏิบัติจนเกิดผลลัพธ์ที่ดี ขั้นที่ 4 : มีการนำมาตรฐาน PCA สู่การปฏิบัติครบทุกหมวด มีผลลัพธ์/แนวโน้มที่ดีขึ้น ขั้นที่ 5 : มีผลลัพธ์อยู่ในระดับดีและบางระบบสามารถเป็นแบบอย่างที่ดี รางวัล PCA : ได้รับคะแนนจากการประเมินฯ ไม่น้อยกว่า 300 คะแนน (เต็ม 1,000 คะแนน)

ระดับการพัฒนาคุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ เข้าสู่กระบวนการ : มีการทำความเข้าใจกับเกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ และมีการประเมินตนเอง ขั้นที่ 1 : รู้จักสภาพปัญหาระบบสุขภาพ/ความเสี่ยงที่สำคัญของเครือข่ายบริการ (PCU+รพ.) และมีแนวทางในการสนับสนุนทรัพยากรในการจัดการปัญหา และความเสี่ยง ขั้นที่ 2 : วิเคราะห์ปัญหา/ความเสี่ยงที่สำคัญและวางแผนสนับสนุนทรัพยากรอย่าง เป็นระบบ ปัญหาและความเสี่ยงที่สำคัญของเครือข่ายได้รับการแก้ไข ขั้นที่ 3 : มีการวางแผนสนับสนุนที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาของพื้นที่(ทั้งเครือข่าย) และมีระบบติดตาม ประเมินผลลัพธ์ของเครือข่าย จนเกิดผลลัพธ์ที่บางระบบ ขั้นที่ 4 : มีรูปแบบการจัดการโครงสร้างบริหาร CUP และการวางแผนระยะสั้นระยะยาว ที่ครอบคลุมทิศทางการพัฒนาทุกระบบจนเกิดผลลัพธ์ค่าเฉลี่ยที่ดีของเครือข่าย ขั้นที่ 5 : มีระบบบริหารจัดการของ CUP ที่มีประสิทธิภาพและเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล รางวัล PCA : ได้รับคะแนนจากการประเมินฯ ไม่น้อยกว่า 300 คะแนน (เต็ม 1,000 คะแนน)