การจัดการความรู้ในสำนักงานประกันสังคม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๕ ส่งเสริมและพัฒนาระบบสารสนเทศชุมชน
Advertisements

รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข
พิธีเปิด การจัดกิจกรรม KM DAY ของ อล. ทร
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
สรุปโครงสร้างของ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
สำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยที่ ๒
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
สรุปผลการเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร “LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM” ของ นางนงลักษณ์ บุญก่อ ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล.
การกำหนดความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
พลตรี นพดล พิศวง รองผอ.รมน.สระบุรี
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
กรอบการจัดทำแผนยุทธศาสตร์สุขภาพจังหวัด แผนยุทธศาสตร์สุขภาพจังหวัด
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
การปรับปรุงอัตรากรมแพทย์ทหารเรือ
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายงานการฝึกอบรมโครงการ “ผู้นำเยาวชนคนพิการ พลิกฟื้นชุมชน สู่การพัฒนา”
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โดย ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการสร้างแรงจูงใจและมีส่วนร่วม
PMQA พัชรศรี ศรีเมือง กลุ่มพัฒนาระบบบริหารกระทรวงยุติธรรม 14 ก.ย. 53
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
การจัดทำหรือการอนุมัติ แผนงานหรือโครงการ โดยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
กรอบคิด รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แผนพัฒนาฯฉบับที่ ๑๐-๑๑
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
การมอบนโยบายการ ปฏิบัติงาน โครงการฝึกอบรมเพื่อเพิ่ม ศักยภาพ การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ พัฒนาอำเภอ และเตรียมความพร้อมเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน ณ ห้องประชุมวิทยาลัยการ.
นโยบายด้านบริหาร.
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
เรื่องของการแจ้งข้อมูล ข่าวสาร ต้อง ให้ฉับไว ถูกต้อง ด้านคุณภาพการให้บริการ ความพึง พอใจต้องสำรวจให้ครบทุกหน่วยงาน ต้องพัฒนาทักษะ ความรู้ความเข้าใจ จัดระบบงานใหม่ให้สอดคล้องกับความ.
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๑-๑๘
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๑ พ.ศ.๒๕๕๔ - ๒๕๕๙
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ เรื่อง หลักเกณฑ์และ อัตราสำหรับประโยชน์ทดแทนใน.
พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550
แนวทางการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ปีงบประมาณ 2558
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการความรู้ในสำนักงานประกันสังคม โดย นางทัศนีย์ มะโนปัญญา ผู้อำนวยการกองฝึกอบรม

วิสัยทัศน์ สำนักงานประกันสังคม ก้าวสู่องค์กรแห่งความเป็นเลิศ ที่มุ่งสร้างหลักประกันสังคมของประเทศ อย่างสมดุล มั่นคง ยั่งยืน และมีธรรมาภิบาล

ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ : พัฒนาการให้บริการประกันสังคมขององค์กร ให้มีคุณภาพ อย่างทั่วถึง และเป็นธรรมยิ่งขึ้น ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ : การพัฒนาสิทธิ ประโยชน์ควบคู่กับการสร้าง เสถียรภาพกองทุนอย่างสมดุล เหมาะสม และ เป็นธรรม (มั่นคง เป็นธรรม) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ : การพัฒนาสู่ องค์กรแห่งความเป็นเลิศ ด้วยการบริหารอย่างมืออาชีพ (ก้าวไกล เป็นสุข)

ความเป็นมาของการจัดการความรู้สำนักงานประกันสังคม พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๑๑ “ ส่วนราชการมีหน้าที่พัฒนาความรู้ในส่วนราชการ เพื่อให้มีลักษณะเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ โดยต้องรับรู้ข้อมูลข่าวสาร และสามารถประมวลผลความรู้ในด้านต่างๆ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการ ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และเหมาะสมกับสถานการณ์ รวมทั้งต้องส่งเสริมและพัฒนาความรู้ ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์ และปรับเปลี่ยนทัศนคติของข้าราชการในสังกัดให้เป็นบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ และมีการเรียนรู้ร่วมกัน”

ความเป็นมาของการจัดการความรู้สำนักงานประกันสังคม ๑.ความเป็นมาการจัดการความรู้สำนักงานประกันสังคม ปี ๒๕๔๘ : ดำเนินการจัดการความรู้ เรื่อง การวินิจฉัยประโยชน์ทดแทนกรณีเจ็บป่วย ปี ๒๕๔๙ : ดำเนินการจัดการความรู้ เรื่อง การวินิจฉัยประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน ปี ๒๕๕๐ : ดำเนินการจัดการความรู้ จำนวน ๒ เรื่อง ได้แก่ ๑ ) การวินิจฉัยประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์บุตร ๒ ) การจัดการข้อร้องเรียน ปี ๒๕๕๑ : ดำเนินการจัดการความรู้ จำนวน ๒ เรื่อง ได้แก่ ๑) จิตสำนึกในการให้บริการ ๒) การติดตามนายจ้างขึ้นทะเบียน ปี ๒๕๕๒ : ดำเนินการจัดการความรู้ จำนวน ๓ เรื่อง ได้แก่ ๑) การจ่ายค่าบริการทางการแพทย์ตามภาระเสี่ยง ๒) คำพิพากษาศาลฎีกาที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๗ และ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๒ พร้อมบทวิเคราะห์ ๓) การนำส่งเงินสมทบกองทุนประกันสังคม  

ความเป็นมาของการจัดการความรู้สำนักงานประกันสังคม ปี ๒๕๕๓ : ดำเนินการจัดการความรู้ จำนวน ๓ เรื่อง ได้แก่ ๑) เทคนิคการติดตามเงินคืนกรณีจ่ายเงินว่างงานเกินสิทธิ ๒) การติดตามเร่งรัดหนี้เงินสมทบ ๓) เคล็ด (ไม่) ลับการพัสดุ ปี ๒๕๕๔ : ดำเนินการจัดการความรู้ จำนวน ๓ เรื่อง ได้แก่ ๑) เทคนิคการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ๒) เทคนิคการสร้างและพัฒนาเครือข่าย ๓) เทคนิคการปลูกจิตสำนึกรักองค์กร

ความเป็นมาของการจัดการความรู้สำนักงานประกันสังคม ปี ๒๕๕๕ : ดำเนินการจัดการความรู้ จำนวน ๒ เรื่อง ได้แก่ ๑) ขุมทรัพย์ความรู้สำนักงานประกันสังคม วิทยากร ดร.ธนาวิชญ์ จินดาประดิษฐ์ ๒) การพัฒนาสำนักงานประกันสังคมสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ : ภาวะผู้นำพลังขับเคลื่อนสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ วิทยากร ดร.เกษรา รักชาติ

ขุมทรัพย์ความรู้สำนักงานประกันสังคม ปี 2555

เอกสารผลงานการจัดการความรู้สำนักงานประกันสังคมพื้นที่/จังหวัด

ความเป็นมาของการจัดการความรู้สำนักงานประกันสังคม ปี ๒๕๕๖ : ดำเนินการจัดการความรู้ จำนวน ๒ เรื่อง ได้แก่ ๑) ขุมทรัพย์ความรู้สำนักงานประกันสังคม ๒) การพัฒนาเครือข่ายการจัดการความรู้ในส่วนกลาง วิทยากร ดร.ธนาวิชญ์ จินดาประดิษฐ์

เริ่มต้น KM ให้ความรู้ สร้างเครือข่าย กระตุ้นให้ทำ (ข้อสั่งการ , ติดตามโดยผู้ตรวจราชการ) นำปฏิบัติ , สนับสนุนงบประมาณ ย้ำชัดสู่เป้าหมาย (LO)

ผลการดำเนินการ การจัดการความรู้ในหน่วยงาน ทั้งส่วนกลาง และภูมิภาค - การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - การจัดทำคู่มือ - การฝึกอบรมพัฒนา - E-Learning - กิจกรรมต่างๆ ขุมทรัพย์ความรู้

E-learning

การศึกษาดูงาน อิตาลี (2556) การศึกษาตลอดชีวิต Long Live Learning

การศึกษาดูงาน

กองฝึกอบรม สำนักงานประกันสังคม