สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แบบฟอร์มการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ขององค์กร
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ผลการประเมินการดำเนินงาน 46
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
เครื่องมือและเทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วมของชุมชน
แผนการประชุม จัดทำแผนปฏิบัติการ ๒๕๕๖
การสร้างวิสัยทัศน์(Vision) ประเด็นยุทธศาสตร์
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต
1 แบบฟอร์มการจัดทำ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี กลุ่มจังหวัดและจังหวัด.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต เขต 8 นครสวรรค์ นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแล ผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 12.
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปิงปอง 7 สี สร้างภาคีสุขภาพจิต “สู้เบาหวาน ความดัน”
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
หลักการ และเทคนิควิธีการกำหนด แผนปฏิบัติราชการสำนักงานยุติธรรมจังหวัด
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
แผนการสกัดกั้นยาเสพติด
แผนความร่วมมือระหว่างประเทศ
คู่มือการดูแลทางจิตเวช เพื่อป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย
นโยบายด้านบริหาร.
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
บทเรียนการดำเนินการให้บริการบำบัดผู้เสพยาสูบ แบบครบวงจร
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
“เป็นหน่วยงานที่มีประสิทธิภาพสูงในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของโรงพยาบาล”
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
สรุปการประชุม F.S.C เขตบริการสุขภาพที่ 2
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
ความคาดหวังของเขตสุขภาพต่อการดำเนินงานสุขภาพจิตในพื้นที่
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
การวางแผนยุทธศาสตร์.
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การพัฒนาระบบบริการทุติยภูมิและปฐมภูมิ
แนวทางการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาบุคลากร สถาบัน ธัญญารักษ์ และศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด ภูมิภาค 17 – 18 มกราคม 2549 ห้องประชุม 2 / 2 สถาบันธัญญารักษ์
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ทำไมต้องทำ HA ? เพราะทำให้เกิดระบบงานที่ดี
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ แนวทางการวิเคราะห์ปัจจัยที่เกี่ยวข้องและการวางแผนดำเนินงานการป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ

ประเด็นนำเสนอ การกำหนดทิศทางการดำเนินการของพื้นที่ การวิเคราะห์บริบทที่เกี่ยวข้องกับปัญหา(การฆ่าตัวตาย) วิเคราะห์ความเป็นไปได้เชิงกลยุทธ์ในการป้องกันปัญหา (การฆ่าตัวตาย) การจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อป้องกันปัญหา(การฆ่าตัวตาย)

การกำหนดทิศทางการดำเนินการของพื้นที่ การกำหนดวิสัยทัศน์ (Vision ) การกำหนดพันกิจ (Mission)  การกำหนดเป้าหมาย (Goal) การกำหนดตัวชี้วัด (Indicator) 

ตัวอย่าง โรงพยาบาลชุมชนมีสุข วิสัยทัศน์ (Vision ) เป็นโรงพยาบาลชุมชนที่ให้บริการสุขภาพจิตใกล้บ้าน พันธกิจ (Mission)  บริการผู้ป่วยจิตเวชแบบผู้ป่วยนอก สนับสนุนให้เครือข่ายบริการสุขภาพดูแลผู้ป่วยจิตเวช  

การกำหนดทิศทางการดำเนินการของพื้นที่  เป้าหมาย (Goal) ผู้ป่วยจิตเวชเข้าถึงบริการ  ตัวชี้วัด ร้อยละของผู้ป่วยจิตเวชเข้าถึงบริการ

การวิเคราะห์บริบทที่เกี่ยวข้องกับปัญหา(การฆ่าตัวตาย) การประเมินสภาพแวดล้อมภายใน คือ การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน การประเมินสภาพแวดล้อมภายนอก คือ การวิเคราะห์ โอกาส และภัยคุกคาม

SWOT Analysis ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก SWOT Analysis Strength จุดแข็ง Weakness จุดอ่อน ปัจจัยภายใน Opportunity โอกาส Threat ภัยคุกคาม ปัจจัยภายนอก SWOT Analysis

ตัวอย่าง โรงพยาบาลชุมชนมีสุข การวิเคราะห์จุดแข็ง มีคลินิกเฉพาะทางด้านจิตเวช มีผู้เชี่ยวชาญด้านจิตเวช มีการทำงานเป็นทีมกับ รพสต. อสม. แกนนำ เข้มแข็ง มีระบบEMSส่งต่อ การวิเคราะห์จุดอ่อน บุคลากรน้อยภาระงานมาก บุคลากร รพสต.ขาดความรู้ ทักษะ ขาดการส่งต่อข้อมูลดูแลคนไข้ ชุมชนขาดความรู้ มีทัศนคติ เชิงลบต่อผู้ป่วย

ตัวอย่าง โรงพยาบาลชุมชนมีสุข(ต่อ) การวิเคราะห์โอกาส นโยบายงานสุขภาพจิต ประชาชนเข้าไม่ถึงบริการ มีการสนับสนุนงบประมาณจาก หน่วยงานภายนอก การวิเคราะห์ภัยคุกคาม ภาคีเครือข่ายนอกระบบไม่ร่วมมือ เท่าที่ควร(ตำรวจ อบต.) ท้องถิ่นไม่สนับสนุนงบประมาณกองทุน สุขภาพตำบล การนำ พรบ.สุขภาพจิตไปใช้นอกภาคี เครือข่ายไม่ได้รับความร่วมมือ ปัญหายาเสพติด

วิเคราะห์ความเป็นไปได้เชิงกลยุทธ์ การนำจุดแข็งมาเสริมโอกาส (SO) การนำโอกาสมาปิดจุดอ่อน (OW) การนำจุดแข็งมาเอาชนะอุปสรรค (ST) นำจุดอ่อนมาเป็นโอกาสพัฒนา หรือ นำอุปสรรคมา เป็นประเด็นท้าทาย

ตัวอย่าง โรงพยาบาลชุมชนมีสุข การนำจุดแข็งมาเสริมโอกาส (SO) พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตในชุมชน

ตัวอย่าง โรงพยาบาลชุมชนมีสุข การนำโอกาสมาปิดจุดอ่อน (OW) พัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขระดับ รพสต. พัฒนาความรู้ ทัศนคติคนในชุมชนต่อผู้ป่วยจิตเวช พัฒนาระบบส่งต่อข้อมูล พัฒนาระบบส่งต่อโดยเครือข่ายมีส่วนร่วม

ตัวอย่าง โรงพยาบาลชุมชนมีสุข การนำจุดแข็งมาเอาชนะอุปสรรค (ST) พัฒนาคลินิกบำบัดยาเสพติดในสถานพยาบาลเครือข่าย พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตฉุกเฉินด้วย EMS

การจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย แผนกลยุทธ์ กิจกรรม และตัวชี้วัด

ตัวอย่าง โรงพยาบาลชุมชนมีสุข พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตในชุมชน กิจกรรม เสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายบริการสุขภาพจิต รพสต. พัฒนารูปแบบการให้บริการสุขภาพจิตใน รพสต. ตัวชี้วัด ผลการดำเนินการให้บริการ(การคัดกรอง การส่งต่อ การดูแลต่อเนื่อง)

แบ่งกลุ่มตามพื้นที่ 4 กลุ่ม กำหนดวิสัยทัศน์ พันธะกิจ และเป้าหมายของพื้นที่ ตนเอง วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภัยคุกคาม วิเคราะห์ความเป็นไปได้เชิงกลยุทธ์ จัดทำแผนปฏิบัติการ(กิจกรรม) แนวทางการติดตามผล และตัวชี้วัด

คำถาม ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ