โครงการเครือข่ายไฟจราจรอัจฉริยะ Intelligent Traffic Light Network หมายเลขโครงการ COE2009-16 นายณัฐภัทร ไวพจน์ 493040149-7 นางสาววนิดา ลือฤทธิ์ 493041257-9 อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ อ.ดร.นวภัค เอื้ออนันต์ อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน ผศ. ดร. ดารณี หอมดี อ.ดร. วรินทร์ สุวรรณวิสูตร ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
หัวข้อนำเสนอ บทนำ วัตถุประสงค์ของโครงการ ขอบเขตของโครงการ ผลที่คาดว่าจะได้รับ แผนการดำเนินงาน ความคืบหน้าของโครงการ บอร์ดที่ใช้ในการทดลอง แบบจำลองการนับเวลาถอยหลังทาง 7 segment แบบแยกสีได้ การดำเนินการขั้นต่อไป การติดต่อและควบคุมผ่านระบบเครือข่าย การออกแบบอินเทอร์เฟส ปัญหาและอุปสรรค ภาพจาก http://www.greenwichukip.org.uk/assets/images/traffic_light_led2.jpg
บทนำ วัตถุประสงค์ของโครงการ สามารถควบคุมการจราจรจากศูนย์ควบคุมการจราจรผ่านระบบเครือข่ายได้ พัฒนาระบบสัญญาณไฟจราจรที่สัมพันธ์กับสภาพการจราจรทั้งแยกการจราจรที่ควบคุมและแยกใกล้เคียง ภาพจาก http://www.gets.co.th/backoffice/customer_photo/2008_09_30_08_59_38.jpg
บทนำ ขอบเขตของโครงการ สามารถส่งข้อมูลการจราจรและควบคุมผ่านระบบเครือข่าย สามารถปรับเปลี่ยนระบบสัญญาณไฟจราจรโดยอัตโนมัติ ภาพจาก http://www.arrakeen.ch/thai4/016%20%20traffic%20at%20Siam%20Square.JPG
บทนำ ผลที่คาดว่าจะได้รับ ลดปัญหาการจราจรตามแยกการจราจรตามเมืองใหญ่ โดยใช้ระบบสัญญาณไฟจราจรที่สามารถควบคุมการทำงานผ่านระบบเครือข่ายได้ ระบบสัญญาณไฟจราจรสามารถทำงานตามเวลาที่กำหนด
แผนการดำเนินงาน
ความคืบหน้าของโครงการ บอร์ดที่ใช้ในการทดลอง
ความคืบหน้าของโครงการ แบบจำลองการนับเวลาถอยหลังทาง 7 segment แบบแยกสีได้
การดำเนินการขั้นต่อไป การติดต่อและควบคุมผ่านระบบเครือข่าย การออกแบบอินเทอร์เฟส
การดำเนินการขั้นต่อไป TCP/IP TCP/IP ศูนย์ควบคุมการจราจร
ปัญหาและอุปสรรค แนวทางการแก้ไข การเพิ่มเติมในส่วนของตัวแสดงผล ตัวเลขนับถอยหลังแบบ 7 segment ทำให้ GPIO port มีไม่เพียงพอ ไมโครคอนโทรเลอร์รุ่นที่ใช้มี GPIO port 25 GPIO แนวทางการแก้ไข ใช้ shift register ในการขยาย output โดยใช้ shift register เบอร์ 74HC595
Q&A