การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การพัฒนางานอนามัยการเจริญพันธุ์ ปี
เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
อนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดจันทบุรี
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
HPC 11 กรอบแนวทางการดำเนินงาน นโยบายกรมอนามัย ศูนย์อนามัยที่ 11 ปีงบประมาณ 2553 กลุ่มยุทธศาสตร์ 31 กค. 52.
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ดำเนินงานโดย คปสอ. บ้านโป่ง
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
ยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
การดำเนินงานกรมสุขภาพจิต
การพัฒนาเครือข่ายในระบบบริการ สาธารณสุขให้มีการพัฒนาระบบ บริการสุขภาพจิตและจิตเวช สำหรับ รพศ. รพท. รพช. รพสต. พรประไพ แขกเต้า งานสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน.
การดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
คณะที่ ๑ : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค ประเด็นหลักที่ ๑. ๑
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ปีงบประมาณ 2553
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
ส่งเสริมสัญจร.
โครงการสำคัญตามนโยบาย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสุโขทัย
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
1 อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ในเขต 7 ที่ผ่านเกณฑ์ สรุป : อำเภออนามัยเจริญพันธุ์ ในภาพเขต 7 ผ่านเกณฑ์ร้อยละสะสม กระบวนการ มีส่วนร่วมในเขตชัดเจนมากที่สุด มีการกำกับติดตามที่ชัดเจนมากส่งผลให้ขอเป็น.
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ด้านการดำเนินงานการตั้งครรภ์หญิง วัยรุ่น o ๑. มาตรการด้านบริหารจัดการ การประชุมพิจารณา กรอบแนวทางการประเมินผลตามตัวชี้วัด และ มาตรฐานการดำเนินงานอำเภออนามัยการเจริญ.
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
คณะกรรมการการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภท
คปสอ.เลิงนกทา เป็นองค์กรบริหารด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใส
กรอบประเด็น คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ผลการดำเนินงาน 6 เดือน ประเด็น พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ และการจัดบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น โรงพยาบาลพล

เป็นโรงพยาบาลชุมชนที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐานบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ วิสัยทัศน์โรงพยาบาลพล เป็นโรงพยาบาลชุมชนที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐานบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ โรงพยาบาลพล

วิสัยทัศน์งานวัยรุ่น บริการด้วยหัวใจแห่งความเป็นมนุษย์ เป็นเครือข่ายบริการสุขภาพด้านการส่งเสริมอนามัยเจริญพันธุ์สำหรับวัยรุ่นและเยาวชน ที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน บริการด้วยหัวใจแห่งความเป็นมนุษย์

พันธกิจ ประสาน สนับสนุน ส่งเสริม ติดตามและ พัฒนาการให้บริการวัยรุ่น เยาวชนและครอบครัวใน สถานบริการสุขภาพ

ยุทธศาสตร์ สร้างเสริม ป้องกัน ดูแล รักษาและฟื้นฟูภาวะสุขภาพของวัยรุ่นและเยาวชน ครอบครัวอย่างต่อเนื่อง สร้างและพัฒนาระบบเครือข่ายเพื่อให้มีการบริหารจัดการด้านการบริการที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคลินิกให้ได้ตามมาตรฐานกรมอนามัย สร้างและพัฒนาระบบเวชสารสนเทศในเครือข่าย

นโยบาย 1พัฒนาคุณภาพคลินิกให้ได้ตามมาตรฐาน YFHS (Youth Friendly Health Service) เพื่อให้ วัยรุ่นและเยาวชนได้รับบริการที่มี่คุณภาพและมี ความพึงพอใจ 2 พัฒนาบุคลากรในคลินิกและเครือข่ายให้มี ความรู้ความสามารถในการให้บริการที่เป็นมิตร สำหรับวัยรุ่นและเยาวชน 3 พัฒนาภาคีเครือข่ายให้มีมาตรฐาน YFHS ในการให้บริการวัยรุ่นและเยาวชนเพื่อสร้าง ความมั่นใจให้กับผู้มารับบริการ

อำเภอพล จังหวัดขอนแก่น ปี 2553-4 โครงการ การสร้างเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายจัดบริการสุขภาพและอนามัยเจริญพันธุ์ สำหรับวัยรุ่นและเยาวชน อำเภอพล จังหวัดขอนแก่น ปี 2553-4

วัยรุ่นตั้งครรภ์ลดลง 10 % การกลับมาตั้งครรภ์ซ้ำภายใน 2 ปี ลดลง 5 % ตัวชี้วัด วัยรุ่นตั้งครรภ์ลดลง 10 % การกลับมาตั้งครรภ์ซ้ำภายใน 2 ปี ลดลง 5 %

นิยามวัยรุ่นและเยาวชน WHO นิยามวัยรุ่นและเยาวชน หมายถึง ผู้ที่มีอายุ 10-24 ปี

สถานการณ์ปัจจุบัน

ใช้โทรศัพท์ในการสื่อสารมากขึ้น รวดเร็ว สะดวก ได้ตลอดเวลา

ในการสื่อสารทางเพศมากขึ้น ใช้ internet ในการสื่อสารทางเพศมากขึ้น

สื่อสิ่งพิมพ์ โฆษณา ยั่วยุให้เกิดอารมณ์ทางเพศ

หญิง-ชาย มีโอกาสใกล้ชิดกันมากขึ้น

การร่วมเพศในวัยรุ่น(ที่เรียนและไม่ได้เรียน) ชาย 13 - 75 % หญิง 2 - 25 % อมรา สุนทรธาดา 2537 พิมลพรรณ อิสระภักดี 2538 สังวาล รักษ์เผ่า 2540 ศิริกุล อิศรานุรักษ์ และ วรรณา เตชวณิชย์พงศ์ 2532 – 2542 เอแบคโพลล์ : กทม. 2545, 2547 สุวรรณา เรืองกาญจนเศรษฐ 2546

สถานการณ์วัยรุ่นตั้งครรภ์ในอำเภอพล

หญิงตั้งครรภ์อายุต่ำกว่า 20 ปี 22.7 23.0 ปี

วัยรุ่นที่คลอดบุตร รพ.พล ร้อยละ 15.8 ปี

ด้านการจัดตั้งเครือข่าย ระดับอำเภอ

ภาคีเครือข่ายการดำเนินงานวัยรุ่น 1. โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ขอนแก่น เขต 3 จำนวน 19 โรงเรียน 2. โรงเรียนสังกัด อบจ.ขอนแก่น จำนวน 1 โรงเรียน 3. โรงเรียนเอกชน 2 แห่ง 4. วิทยาลัยการอาชีพ จำนวน 1 แห่ง 5.ศูนย์บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย1 แห่ง 6. อบต. 12 แห่ง 7. เทศบาล 1 แห่ง 8. สถานีอนามัย/PCU. 15 แห่ง 9. โรงเรียนสังกัดเทศบาล จำนวน 3 โรงเรียน

1.ประชุมผู้รับผิดชอบงานวัยรุ่นเครือข่ายCUPพล รับทราบสถานการณ์ และปัญหาในอำเภอพลพล เปิดคลินิกวัยรุ่นในสถานีอนามัยทุกแห่ง ในปี 2554

2.นำเรื่องเข้าประชุมหารือ ในการประชุมหัวหน้าส่วนราชการ

3.จัดตั้งคณะกรรมการ แก้ไขปัญหาวัยรุ่นและเยาวชนอำเภอพล 4. จัดทำแผนยุทธศาสตร์

การดำเนินงานเชิงรับ

ที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น พัฒนาระบบให้บริการ ที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น แต่งตั้งคณะกรรมการ ประเมินตนเองเกณฑ์กรมอนามัย พัฒนาระบบให้ได้ตามเกณฑ์ มี Flow chart ดำเนินงาน ส่งบุคลากรอบรม 3 คน

คลินิกวัยใส

การให้บริการในคลินิกวัยใส ปัญหาวัยรุ่นทั่วไป ปัญหาด้านอารมณ์และจิตใจ ปัญหาด้านโภชนาการ (อ้วน เตี้ย ผอม) ให้ความรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์ ปัญหาทางเพศ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ วัยรุ่นตั้งครรภ์ การวางแผนครอบครัว ศูนย์ช่วยเหลือและส่งต่อวัยรุ่นละเยาวชน

ยอดผู้ใช้บริการ (มิย.-กย.53) ผู้รับบริการ ทางโทรศัพท์ 12 ราย 5 ราย ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ 4 ราย วางแผนครอบครัว 1 ราย ปัญหาสุขภาพทั่วไป ปัญหาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2 ราย ปัญหาอนามัยเจริญพันธุ์ 1 ราย

ให้บริการอย่างครบวงจร เปิดให้บริการฝากครรภ์วัยรุ่น โดยเฉพาะ ทุกวันอังคาร เวลา 08.00-16.00 น.

Focus กลุ่ม ให้ความรู้วัยรุ่น สู่กระบวนการโรงเรียนพ่อแม่

ได้รับการดูแลและเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงในวัยรุ่น LR bonding สร้างความผูกพัน ลดปัญหาทิ้งลูก PP เน้นนมแม่ และการเลี้ยงทารกที่ถูกต้อง

HHC เยี่ยมบ้าน เยี่ยมหลังคลอด ให้บริการวางแผน ครอบครัวที่ เหมาะสม

ด้านบริการเชิงรุก

1.อบรมให้ความรู้ ในสถานศึกษา เป้าหมาย 19โรงเรียน

1.มีโรงเรียนนำร่อง - ให้ความรู้นักเรียน 100 % -อบรมครู 1.มีโรงเรียนนำร่อง - ให้ความรู้นักเรียน 100 % -อบรมครู

2.ให้บริการคลินิกวัยรุ่นในโรงงาน วันอังคาร เวลา 08.00-12.00 น.

3.ให้ความรู้ ที่ชุมชนและวัด

4.อบรม อสม. ในเขตเทศบาลเมืองพล ครบ 100% 2ครั้ง

5. อบรมกลุ่มนักศึกษา

การเผยแพร่ความรู้และเข้าถึงข้อมูล

ให้บริการปรึกษาสายด่วน โทร 080-4193606ตลอด 24 ชั่วโมง

กิจกรรม ตัวชี้วัด ผลงาน มีคลินิกให้คำปรึกษาใน รพ. 1 แห่ง มีคลินิกให้คำปรึกษาในโรงเรียน มีคลินิกให้คำปรึกษาในโรงงาน อบรมแกนนำนักเรียน 19 โรงเรียน >80% 52.6% วัยรุ่นมีความรู้และวางแผนครอบครัว 65% วัยรุ่นที่รับบริการมีความพึงพอใจ >85% 88.6% วัยรุ่นตั้งครรภ์ลดลง 10% เพิ่ม 0.39% การกลับมาตั้งครรภ์ซ้ำภายใน 2 ปี 5% 0% ผลการดำเนินงาน

ทำนามบัตรแจกวัยรุ่นใน รพ.พล โรงเรียนและชุมชน

บริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น สวัสดีด้วย บริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น