โปรแกรมรหัสข้อมูลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
1.กดปุ่ม Unzip (เลือกเป็น D:\)
Advertisements

Medication reconciliation
คู่มือการใช้งานระบบ e-office สพฐ. สำหรับ Admin
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
การเข้าใช้งาน PDX เปิดโปรแกรม Internet Browsers Internet Explorer
การใช้งานระบบสินค้าคงคลัง
การใช้เครื่องพิมพ์และเครื่อง ถ่ายเอกสาร ระบบออนไลน์
ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล
ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล
Software Version 5.0 วันพุธที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
สำรวจข้อมูลโรงงาน เพื่อปรับปรุงฐานข้อมูลโรงงาน
การจัดเก็บข้อมูลผู้ป่วย (1)
บทที่ 13 การผลิตแบบทันเวลาพอดี
กิจกรรมที่ 1 1. ให้ท่านอ่านกรณีศึกษาที่ท่านได้รับ
ทบทวนการให้รหัสICD-10TM For PCU
สปสช. เขต 8 อุดรธานี รังสรรค์ ศรีภิรมย์ 10 พฤษภาคม 2556
การบันทึกข้อมูลให้บริการ ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
การรับส่งเงินและการเรียกเก็บชดเชยค่าบริการทางการแพทย์
ตามคำสั่งของแพทย์ ในระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
สรุปผลหลังการฝึกทักษะประกอบรายวิชา สถานีอนามัยบ้านหนองปลาน้อย ตำบลเหล่าปอแดง อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร นักศึกษาสาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน ปีที่ 3.
การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาษาไทย
Lean & PCT อายุรศาสตร์ พงศ์ศักดิ์ ด่านเดชา.
บทที่ 5 พจนานุกรมข้อมูล Data Dictionary
การจัดทำข้อมูลรายบุคคล
Medication reconciliation
ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
SCIENCE DIRECT.
การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
1. 2 โรงพยาบาลทั่วไปประกอบด้วยจำนวนวอร์ดสำหรับ คนไข้เฉพาะ ( เช่น คลอดบุตร กุมารเวชศาสตร์ เนื้องอก ฯลฯ ) ใน แต่ละวอร์ดรับจำนวนผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาตาม.
กระบวนการทำงาน งานเวชระเบียนและสถิติ ศูนย์มะเร็งอุดรธานี
ระบบประกันสังคม มี 2 กองทุน.....
โปรแกรมรหัสข้อมูล สุขภาพด้าน การแพทย์แผนไทย 8 มกราคม 2552 รร. มิราเคิลแกนด์ กทม. สถาบัน การแพทย์แผน ไทย.
การจัดทำและรายงานข้อมูล แบบ  รง  ปีงบประมาณ 
โปรแกรมรหัสข้อมูลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย
โปรแกรมโครงการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ (INFLUENZA) ปีงบประมาณ2552
Waiting time (OPD) ตามมาตรฐานงานเภสัชกรรมโรงพยาบาล
การลงทะเบียนผู้ป่วยใหม่
โครงการนำร่อง การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคกลุ่มแรงงาน
คู่มือการใช้งานระบบงานภายใน งานปรับปรุงข้อมูลและตั้งเบิก
ระบบการส่งต่อผู้ป่วยจิตเวช
ภาณุวัฒน์ ประทุมขำ โปรแกรมเมอร์อาวุโส DAMASAC
คู่มือการใช้งานโปรแกรมระบบนัดพบตลาดงานเชิงคุณภาพ ประจำปีงบประมาณ 2557
การจัดส่งรายงานผู้ป่วยประกันสังคม
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
คู่มือการบันทึกข้อมูล 7 แฟ้ม กลุ่มข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วย
ระบบติดตามผลการปฏิบัติราชการสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 04. ข้อมูลบริการผู้ป่วยนอก
คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 03. ข้อมูลการให้บริการ
หน้าจอส่งออก 43 แฟ้ม ส่งเป็น Zip ส่งOnline รายชื่อตารางต่างๆ
ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพแผนไทย โรงพยาบาลทัพทัน
M&E M&E by..nuntana Claim Claim.
คู่มือการใช้งาน โปรแกรม STI.VCT 1.0
คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 05. ข้อมูลบริการผู้ป่วยใน
วาระประชุม กวป. งานแพทย์แผนไทย 2 ธ.ค โดย วัชรี แก้วสา
โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลและโปรแกรม การรายงานสารสนเทศทางการพยาบาล
นันท์นลิน นาคะกุล พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ เมษายน 2557
เอกรัฐ บูรณะถาวรสม นักวิชาการคอมพิวเตอร์ เมษายน 2557
จัดทำโดย นางฐิตารีย์ สอนจันดา 1 มิถุนายน 2556
มาตรฐานการบันทึกข้อมูล
คู่มือใช้งานโปรแกรมส่งต่อ ผู้ป่วย โดย ศูนย์คอมพิวเตอร์ ศูนย์มะเร็ง ลพบุรี
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
วิเคราะห์สถิติผู้ป่วยนอก ให้รหัสตาม icd10tm
วิชาปฏิบัติหลักการและเทคนิคการพยาบาล
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
การพยาบาลเฉพาะทาง สาขา การพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร็ง
เมนูพิมพ์แบบรายงาน ผู้ใช้งานระบบ สามารถเลือกพิมพ์แบบรายงานในรูปแบบต่าง ๆ ได้ โดยการส่งออกรายงานจะเป็นในรูปของ Excel File.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โปรแกรมรหัสข้อมูลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย

โปรแกรมรหัสข้อมูลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย เป็นโปรแกรมที่ใช้สำหรับกรอกข้อมูลที่เกี่ยวกับการมารับบริการด้านแพทย์แผนไทย เช่น การลงทะเบียนผู้ป่วย,การลงรหัสโรคผู้ป่วยนอก-ใน,รายงานข้อมูล,ส่งข้อมูลขึ้นเวป ฯลฯ.

โปรแกรมรหัสข้อมูลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย ส่วนประกอบของโปรแกรม มี 2 ส่วน ส่วนผู้ดูแลระบบ (Admin) ส่วนผู้ใช้งาน (User)

โปรแกรมรหัสข้อมูลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย ส่วนผู้ดูแลระบบ (Admin) สถานพยาบาล ใช้สำหรับกรอกรหัสสถานพยาบาลของแต่ละสถานพยาบาล การประเมินมาตรฐานการบริการแพทย์แผนไทยของแต่ละสถานพยาบาล การลงรายการยาสมุนไพรที่ผลิตได้เองในแต่ละสถานพยาบาล ผู้ดูแลระบบ เป็นส่วนที่ใช้สำหรับกรอกข้อมูลที่ใช้ในการ ล็อกอินเข้าสู่ระบบผู้ดูและระบบ เช่น ชื่อผู้ล็อกอิน รหัสผ่าน ฯลฯ.

โปรแกรมรหัสข้อมูลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย ส่วนผู้ดูแลระบบ (Admin) ผู้ใช้ เป็นส่วนที่ใช้สำหรับกรอกข้อมูลที่ใช้ในการ ล็อกอินเข้าสู่ระบบผู้ใช้งานเช่น ชื่อผู้ล็อกอิน รหัสผ่าน ฯลฯ. ลงทะเบียนผู้ทำการตรวจวินิจฉัย-ผู้ให้บริการ เป็นส่วนที่ใช้สำหรับกรอกข้อมูลพื้นฐานของผู้ทำการตรวจวินิจฉัยและของผู้ให้บริการ เช่น รหัส,ชื่อ-นามสกุล เพื่อนำไปใช้ที่ส่วน ผู้ทำการตรวจวินิจฉัย,ส่วน ผู้ให้บริการ ต่อไป โปรแกรมรหัสข้อมูลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย

โปรแกรมรหัสข้อมูลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย ส่วนผู้ดูแลระบบ (Admin) ผู้ทำการตรวจวินิจฉัย เป็นส่วนที่ใช้สำหรับกรอกข้อมูลผู้ที่สามารถจะทำการตรวจวินิจฉัยโรคได้ โดยข้อมูลพื้นฐานเช่น รหัส,ชื่อ-นามสกุล จะถูกดึงมาจากส่วนลงทะเบียนผู้ทำการตรวจวินิจฉัย-ผู้ให้บริการ ผู้ให้บริการ เป็นส่วนที่ใช้สำหรับกรอกข้อมูลผู้ที่ให้บริการด้านการแพทย์แผนไทยได้ โดยข้อมูลพื้นฐานเช่น รหัส,ชื่อ-นามสกุล จะถูกดึงมาจากส่วนลงทะเบียนผู้ทำการตรวจวินิจฉัย-ผู้ให้บริการ

โปรแกรมรหัสข้อมูลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย ส่วนผู้ดูแลระบบ (Admin) ยาสมุนไพร เป็นส่วนที่ใช้สำหรับเพิ่มรายการยาสมุนไพรหรือเลือกเก็บยาสมุนไพรที่กำหนดมาให้แล้วเพื่อนำไปใช้ในส่วน ของผู้ใช้งาน-OPD/IPD บริการด้านการแพทย์แผนไทยที่เปิดในสถานพยาบาล เป็นส่วนที่ใช้สำหรับเลือกว่าสถานพยาบาล ของท่านเปิดให้บริการด้านใดบ้าง รายงาน/ส่งข้อมูล เป็นส่วนที่ใช้สำหรับ รายงานข้อมูลที่ทำการจัดที่ทำในส่วนผู้ใช้งานทั้ง OPD และ IPD และใช้สำหรับส่งไฟล์ขึ้นเวปเพื่อรายงานเข้าส่วนกลาง

โปรแกรมรหัสข้อมูลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย ส่วนผู้ใช้งาน (User) ลงทะเบียนผู้ป่วย เป็นส่วนที่ใช้สำหรับลงทะเบียนผู้ป่วยรายใหม่ที่เข้ามาทำการรักษา (ในส่วนนี้สามารถ Import ข้อมูลเข้ามาใช้ได้) OPD เป็นส่วนที่ใช้สำหรับ กรอกรายละเอียดการรักษา การทำหัตถการ การจ่ายยา ต่างๆของผู้ป่วยนอก IPD เป็นส่วนที่ใช้สำหรับ กรอกรายละเอียดการรักษา การทำหัตถการ การจ่ายยา ต่างๆของผู้ป่วยใน

โปรแกรมรหัสข้อมูลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย ส่วนผู้ใช้งาน (User) รายงานจำนวนผู้มารับบริการ เป็นส่วนที่ใช้สำหรับรายงานข้อมูล จำนวน ของผู้ป่วยที่มารับบริการในแต่ละช่วงเวลาที่กำหนด ทั้ง ผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยนัด เป็นส่วนที่แสดงรายชื่อของผู้ป่วยที่แพทย์ทำการนัดไว้เพื่อนำไปค้น OPD Card มาไว้ก่อน Import ข้อมูล ในส่วนนี้เป็นที่ใช้สำหรับนำข้อมูลประวัติผู้ป่วยจากโปรแกรมของแต่ละสถานพยาบาลที่อยู่ในรูปแบบไฟล์ นามสกุล DBF มาใส่ฐานข้อมูลโปรแกรมรหัสข้อมูลแพทย์แผนไทยแทนที่จะพิมพ์ที่ในส่วนลงทะเบียนผู้ป่วย