การแจกลูกและการสะกดคำ โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ.เมือง จ. พะเยา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
Advertisements

เสียงพยัญชนะ นางสมจิตร ภูเต็มเกียรติ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนศรีบุณยานนท์

ยินดีต้อนรับสู่การเรียนรู้ คำที่ประสมสระ อา มีตัวสะกด
ระบบ เสียง ในภาษาไทย เสียง เกิดจากลมที่เคลื่อนตัวจากปอดผ่านหลอดลม ลำคอ กล่องเสียง ช่องปาก จมูก เพดาน ลิ้น ฟัน ริมฝีปาก.
ตัวสะกดพาเพลิน โดย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วงชั้นที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
นางสาวดวงเดือน สร้อยจิตร สำนักงานเขตบางคอแหลม
POWERPOINT ประกอบการสอนกลุ่มสาระภาษาไทย
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ ๒
ผู้จัดทำ นางนพมาศ สวัสดินันทน์ ตำแหน่ง ครูผู้สอนวิชาภาษาไทย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
คำคล้องจอง หนู ปู ดูรูงู ปูนา ขาเก
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตา
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
สื่อการสอน ที่พัฒนาคุณภาพ การเรียนรู้ภาษาไทย
Thai Handwritten Character Recognition by Artificial Neural Networks
Thai Handwritten Character Recognition by Artificial Neural Networks
กระบวนวิชา TL 214 การพัฒนาทักษะภาษาไทยรายกรณี
เรื่อง พยัญชนะไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย วิชาภาษาไทย
วิชาวิถีธรรมวิถีไทย รหัส เรื่อง...บาลีศึกษาเบื้องต้น
วิชาเลือกเสรี เรื่องภาษาไทย
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ความรู้เรื่องเสียงในภาษา
นิทานภาพเคลื่อนไหว เรื่อง นกน่ารัก คลิกต่อไป.

๓. พยัญชนะท้ายพยางค์ แม่ กด
๖.พยัญชนะท้ายพยางค์ มาตรากบ หรือแม่กบ.
๒.พยัญชนะท้ายพยางค์“แม่กก”
๔.พยัญชนะท้ายพยางค์“แม่กน”
คือพยางค์ที่ไม่มีตัวสะกด
อ่านสะกดคำและแจกลูก คำแม่กม
ทบทวนบทเรียน ENGLISH CLASS 6.
การอ่าน-การเขียนภาษาไทย
คำควบกล้ำ โดย นางอนงค์นาฏ ลาลุน ครู คศ.1 โรงเรียนบ้านโป่งกลางน้ำ
เกมฝึกทักษะการคิดทางภาษาไทย ชุดที่ ๑ รวมพลังค้นหาคำ
เกมฝึกทักษะการคิดทางภาษาไทย ชุดที่ ๓ เชื่อมโยงชีวิต
เรื่อง คำที่ใช้ รร ( ร หัน)
อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ แก้ไขอย่างไรดี
พบกันอีกแล้วครับวันนี้พี่มีการ์ตูน
อดุลย์ พลพิชัย ศึกษานิเทศก์ สพป.สฎ.3
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สงขลา เขต 3
การลงรายการทรัพยากรห้องสมุด
มาตราตัวสะกด สื่อการสอนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
ชั้นอนุบาล1 โรงเรียนบ้านควนไทรงาม
คำสรรพนาม จัดทำโดย ด.ช.ธนวัฒน์ เตชะนิรัติศัย เลขที่ 30
วิชาภาษาไทย เรื่อง สนุกกับพยัญชนะไทย
หน่วยที่ 3 เรื่อง การวิเคราะห์รายการค้า
คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ ( ภาษาบาลี - ภาษาสันสกฤต )
ตามอาตมาไปอ่านภาษาบาลีกัน
บันทึกสัมภาษณ์นักเรียน มัธยมศึกษาต้น สัมภาษณ์โดย พระปิยะณัฐ คุณวโร คณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ ๔ วิชาเอกการสอน ภาษาอังกฤษ สัมภาษณ์โดย พระปิยะณัฐ คุณวโร คณะครุศาสตร์
โดย นางปิยพร ยศมา ตำแหน่ง ครูชำนาญการ กลุ่มสาระภาษาไทย
บทที่ ๔.
การประเมินพัฒนาการทางภาษาตามแนวสมดุลภาษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แม่กม แม่เกย แม่เกอว แม่กน แม่กก แม่กด แม่กบ แม่ ก กา
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
คำในมาตรา แม่ ก กา แม่ กบ แม่ กก แม่ กง แม่ เกอว แม่ กม แม่ กน แม่ เกย
“คำพูดคุณครู”.
แผนการจัดการเรียนรู้
คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
โรงเรียนบ้านเกาะสินไห
มาตราตัวสะกด ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดย อรวสา พยุห์ โรงเรียนอนุบาลระนอง
การออกแบบการเรียนรู้
สื่อเสริมความรู้เรื่อง คำ ร หัน (รร)
ผลงานวิจัยในชั้นเรียน โดย นางสาวแสงดาว บัวอินทร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านกำพวน
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การแจกลูกและการสะกดคำ โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ.เมือง จ. พะเยา สื่อประกอบการศึกษา ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ การแจกลูกและการสะกดคำ นางบัณฑิดา เมืองวงค์ โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ.เมือง จ. พะเยา

การแจกลูกและการสะกดคำ คืออะไร ใครรู้ช่วยบอกหน่อย จะไปทำรายงานส่งครู

คิดออกแล้ว แต่เอาทีละอย่างนะ ขอคุยถึงเรื่อง การแจกลูก ก่อนก็แล้วกัน

ว่ามา...เพื่อน ๆ กำลังตั้งใจฟัง การแจกลูก  เป็นการออกเสียงคำที่ประสมด้วยเสียพยัญชนะ  สระ  วรรณยุกต์ และตัวสะกด  โดยมีเสียงพยัญชนะต้นเป็นเสียงหลักแล้วเปลี่ยนเสียงสระ ไปตามลำดับหรือเปลี่ยนเสียงตัวสะกดไปทีละมาตรา การแจกลูกนี้มีความหมายเป็น ๒ ประเด็น นะ ว่ามา...เพื่อน ๆ กำลังตั้งใจฟัง

๑. การแจกลูกในมาตราตัวสะกด ก็จะผันสระไปตามมาตราตัวสะกด เช่น กา กี กือ กู โก ปา ปี ปือ ปู โป จาน จีน จืน จูน โจน บาน บีน บืน บูน โบน สาง สีง สืง สูน โสน อาง อีง อืง อูง โอง มาตรา แม่ก กา มาตรา แม่กน มาตรา แม่กง

๒. การแจกลูกเทียบเสียงตามหมู่อักษร เช่น กี จี ดี ตี บี ปี อี กู จู ดู ตู บู ปู อู งา ยา นา มา รา ลา จาน บาน ดาน สาน ขาน อักษรกลาง อักษรต่ำ

พวกนาย ลองฝึกแจกลูกคำกันดูหน่อยไหม เอาคำว่า สูบ กับคำว่า วาด แล้วกัน จะได้เข้าใจ สูบ.... จูบ ลูบ รูป ธูป วูบ ตูบ วาด... มาด ราด สาด ชาด บาด เก่งกันจังเลย

แล้ว การสะกดคำ ล่ะคืออะไร

การสะกดคำ  ก็คือ การอ่านออกเสียงของพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และตัวสะกดมาประสมกันเป็นคำ ไงล่ะ

การสะกดคำ มีวิธีการสะกดหลายวิธี ถ้าสะกดเพื่ออ่าน จะสะกดคำตามเสียง แต่ถ้าสะกดคำเพื่อเขียน ก็จะสะกดตามรูป และการสะกดคำ จะสะกดเฉพาะคำที่เป็นคำไทย และตัวสะกดตรงตามรูป

๑.วิธีสะกดคำตามรูปคำ เช่น กา สะกดว่า กอ - อา – กา นาง สะกดว่า นอ – อา– งอ – นาง บ้าน สะกดว่า บา – อา –นอ - บาน –ไม้โท – บ้าน

๒.วิธีสะกดคำโดยสะกดแม่ก กา ก่อนแล้วจึงสะกดมาตราตัวละกด นาง สะกดว่า นอ - อา - นา - นา - งอ – นาง ร้าน สะกดว่า รา - อา - รา - รา - นอ - ราน – ราน -โท – ร้าน เตียง สะกดว่า ตอ - เอีย - เตีย - เตีย - งอ - เตียง

๓. วิธีการสะกดคำที่มีตัวละกดไม่ตรงตามมาตราตัวสะกด มีวิธีการดังนี้ ๓. วิธีการสะกดคำที่มีตัวละกดไม่ตรงตามมาตราตัวสะกด มีวิธีการดังนี้ ๓.๑ ดูรูปคำ และอ่านออกเสียงให้ถูกต้อง ๓.๒ จำรูปคำและรู้ความหมายของคำ ๓.๓ รู้หลักการสะกดคำ เช่นรู้หลักตัวสะกด

อ๋อ .... ก็คือมาตราตัวสะกดที่มีตัวสะกดหลายตัว นั่นเอง ขอถามเพิ่มเติมอีกนิด มาตราตัวสะกดที่ไม่ตรงตามมาตราคืออะไร ยังไง ? อ๋อ .... ก็คือมาตราตัวสะกดที่มีตัวสะกดหลายตัว นั่นเอง มีอยู่ ๔ มาตรา คือ มาตราแม่กก มาตราแม่กน มาตราแม่กด และมาตราแม่กบ

ขอตัวอย่างมาไวๆ เลย จัดให้ ได้เลยเพื่อน มาตราแม่กก คำที่มี ก เป็นตัวละกด และคำอ่านที่ออกเสียงเหมือน “ ก ” เป็นตัวสะกด ได้แก่ ข ค ฆ เช่น สุนัข อ่านว่า สุ-นัก โชค อ่านว่า โชก เมฆ อ่านว่า เมก มาตรา แม่กน คำที่มี น เป็นตัวละกด และคำอ่านที่ออกเสียงเหมือน “ น ” เป็นตัวสะกด ได้แก่ ญ ณ ร ล ฬ เช่น เชิญ อ่านว่า เชิน ญาณ อ่านว่า ยาน การ อ่านว่า กาน ศาล อ่านว่า สาน พระกาฬ อ่านว่า พระ- กาน

อีกสองมาตรานะ มาตรา แม่กด คำที่มี ด เป็นตัวละกด และคำอ่านที่ออกเสียงเหมือน “ ด ” เป็นตัวสะกด ได้แก่ จ ฉ ช ซ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ด ต ถ ท ธ ศ ษ ส เช่น ตรวจ อ่านว่า ตรวด เดช อ่านว่า เดด อูฐ อ่านว่า อูด เป็นต้น มาตราแม่กบ คำที่มี บ เป็นตัวละกด และคำอ่านที่ออกเสียงเหมือน “ บ ” เป็นตัวสะกด ได้แก่ ป พ ฟ ภ เช่น ธูป อ่านว่า ทูบ ภาพ อ่านว่า พาบ กราฟ อ่านว่า กร๊าบ โลภ อ่านว่า โลบ อืม...

ยินดีด้วยที่พวกเราเข้าใจกันทุกคน ขอบใจนายมากเลย เพื่อน ที่ทำให้พวกเราได้เข้าใจในเรื่องของการสะกดคำมากขึ้น ทีนี้ก็คงจะไปทำรายงานส่งคุณครูได้แล้ว ยินดีด้วยที่พวกเราเข้าใจกันทุกคน