บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ถ้าคุณเลือกได้ คุณต้องการรับรายได้เท่าไหร่
Advertisements

บริษัท กุ้งหลวงไคโตซาน จำกัด
การคำนวณกระแสเงินสด คำนวณกระแสเงินสดเพื่อใช้ประเมินโครงการลงทุน (Capital budgeting)
ค่าของทุน The Cost of Capital
สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 21 สิงหาคม 2551
การวิเคราะห์งบการเงิน
การเลือกคุณภาพสินค้า
ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน
บทที่ 8 โครงสร้างเงินทุน
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
บทที่ 3 การเปลี่ยนแปลงในส่วนของ ผู้เป็นหุ้นส่วน
สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า เงินสด+หลักทรัพย์+ลูกหนี้
เกมธุรกิจแห่งชาติ ตัวชี้วัด น้ำหนัก 1 ยอดขาย 10% 2 กำไร 40% 3 ROE 15%
ฝึกคำนวณค่าโทรศัพท์มือถือ
การวางแผน เพื่อการเกษียณ
การวางแผน ธุรกิจ เป็นกระบวนการ บริหารจัดการทาง การเงินที่สำคัญของ คณะกรรมการกองทุน หมู่บ้าน.
Lesson 11 Price.
จะประหยัด พลังงาน ได้อย่างไร? ถ้ายังไม่รู้ว่า เค้าคิดค่าไฟ เรายังไง???
บทที่ 6 โปรแกรมเชิงเส้น Linear Programming
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
บทที่ 1 อัตราส่วน.
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ
MARKET PLANNING DECISION
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความสำเร็จ ของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 6 การบัญชีสำหรับกิจการซื้อ-ขายสินค้า
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
งบลงทุน Capital Budgeting
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
ก. จำนวนครั้งที่สั่งซื้อสบู่ ข. ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อต่อเดือน
ระบบการเบิก-จ่าย ลูกหนี้เงินยืม
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (2)
เป้าประสงค์ คิดคำนวณกำไร – ขาดทุนจากการประกอบอาชีพ
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
เปิดเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2536 เลขที่ 6 หมู่ 5 ต.วังจันทร์
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 มีนาคม 2551.
การวิเคราะห์สถานการณ์การเงินการคลัง
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 มกราคม 2551.
การ บริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2552 รพ. บ้านลาด ณ 30 เมษายน 2552.
การประชุมความคืบหน้าโครงการไตรภาคี
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
เปลี่ยนรายจ่ายของคุณอย่างไร? ให้เป็นรายได้ หลักแสน!!!
มูลค่าเงินเทียบเท่าเท่ากันรายปี
การประยุกต์ใช้ค่าเงินที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
ตัวอย่างการพยากรณ์ยอดขาย
การบัญชีเกี่ยวกับตั๋วขาดความเชื่อถือ
ตัวแทนรวบรวมเอกสาร CAT CDMA. คุณสมบัติของตัวแทนฯ  เป็นนิติบุคคล  ทุนจดทะเบียนไม่ต่ำกว่า 400,000 บาท  ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับระบบสื่อสารหรือ คอมพิวเตอร์
Risk Management Strategy
บทที่ 13 การบริการลูกค้าในการค้าปลีก
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
หน้าที่ของกรมธรรม์ประกันชีวิต (สัญญาหลัก)
2.3 การเสนอตัวอย่างการคำนวณเบี้ยประกัน
Risk Management Asst.Prof. Dr.Ravi.
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
วิชาการบัญชีสินค้าและระบบบัญชีเดี่ยว
1.
บทที่ 4 การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
การปลด cap วงเงิน.
การพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการวิเคราะห์รายการค้าในวิชาบัญชีเบื้องต้น 1 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 กลุ่ม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้

ตัวอย่างเพิ่มเติม ข้อที่ 2 การบริหารลูกหนี้

ตัวอย่างเพิ่มเติม ข้อที่ 2 การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต บริษัทแห่งหนึ่งขายสินค้าราคาหน่วยละ 30 บาท กำหนดต้นทุนผันแปรต่อหน่วย 19 บาท ต้นทุนคงที่รวม 100,000 บาท หน่วยขายรวมปีละ 10,000 หน่วย บริษัทเปลี่ยน เครดิต จาก n/60 เป็น 3/10 , n/45 โดยคาดว่าลูกหนี้ จะมารับส่วนลดจำนวน 30% ให้พิจารณาว่าจะเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต (สมมติราคาขายและต้นทุนไม่เปลี่ยนแปลงและกำหนดอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน 20%)

อัตราการหมุนของลูกหนี้ การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ขั้นที่ 1 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ขายเชื่อ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย = นโยบายเดิม 300,000 บาท

10,000 หน่วย ราคาขาย ต่อ หน่วย 30 บาท ต่อ หน่วย จำนวนหน่วยที่ขาย 10,000 หน่วย ราคาขาย ต่อ หน่วย 30 บาท ต่อ หน่วย

จำนวนหน่วยขาย X ราคาต่อหน่วย หายอดขาย จำนวนหน่วยขาย X ราคาต่อหน่วย 10,000 X 30 = 300,000 บาท

อัตราการหมุนของลูกหนี้ การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ขั้นที่ 1 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ขายเชื่อ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย = นโยบายเดิม 360 วัน ÷ 60 วัน 300,000 บาท 6 ครั้งต่อปี

อัตราการหมุนของลูกหนี้ การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ขั้นที่ 1 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ขายเชื่อ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย = นโยบายเดิม 300,000 บาท 50,000 บาท = 6 ครั้งต่อปี

อัตราการหมุนของลูกหนี้ การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ขั้นที่ 1 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ขายเชื่อ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย = นโยบายใหม่ 360 วัน ÷ 45 วัน 300,000 บาท 8 ครั้งต่อปี

อัตราการหมุนของลูกหนี้ การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ขั้นที่ 1 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ขายเชื่อ อัตราการหมุนของลูกหนี้ ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย = นโยบายใหม่ 300,000 บาท 37,500 บาท = 8 ครั้งต่อปี

ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ขั้นที่ 1 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย ราคาขายต่อหน่วย เงินลงทุนในลูกหนี้ = นโยบายเดิม 50,000 X 29

ยอดขาย = 10,000 หน่วย ราคาขายต่อหน่วย = 30 บาท

ต้นทุนผันแปร ต่อ หน่วย (V/น) = 19 บาท ต้นทุนคงที่ = 100,000 บาท ขาย 10,000 หน่วย

การหาต้นทุนคงที่ ต่อหน่วย ต้นทุนคงที่ (รวม) ÷ จำนวนหน่วยขาย 100,000 ÷ 10,000 = 10 บาทต่อหน่วย

ต้นทุนรวม ต่อหน่วย คือ ต้นทุนผันแปร + ต้นทุนคงที่ 19 + 10 = 29 บาท ต่อ หน่วย

ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ขั้นที่ 1 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย ราคาขายต่อหน่วย เงินลงทุนในลูกหนี้ = นโยบายเดิม 50,000 X 29 48,333.33 บาท = 30

ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ขั้นที่ 1 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ลูกหนี้ถัวเฉลี่ย X ต้นทุนรวมต่อหน่วย ราคาขายต่อหน่วย เงินลงทุนในลูกหนี้ = นโยบายใหม่ 37,500 X 29 36,250 บาท = 30

การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ขั้นที่ 1 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) เปลี่ยนแปลงของเงินลงทุนในลูกหนี้ลดลง = นโยบายเดิม - นโยบายใหม่ = 48,333.33 – 36,250 = 12,083.33 บาท

การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ขั้นที่ 1 คำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุนที่เปลี่ยนแปลง (ต่อ) ผลตอบแทนจากการเงินลงทุนที่ลดลง = 12,083.33 X 20% = 2,416.67 บาท

การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ขั้นที่ 2 คำนวณหารายจ่าย (ส่วนลดจ่าย) ส่วนลดจ่าย = ยอดลูกหนี้ที่ชำระ X อัตราส่วนลด = (300,000 x 30 % ) x 3 % = 90,000 x 3 % = 2,700 บาท

ดังนั้นควรงดการใช้เงื่อนไขใหม่ การพิจารณาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้เครดิต ขั้นที่ 3 เปรียบเทียบส่วนได้ (ข้อ 1) กับส่วนเสีย (ข้อ 2) ส่วนได้ = 2,416.67 บาท ส่วนเสีย = 2,700 บาท  ไม่เปลี่ยนแปลง ดังนั้นควรงดการใช้เงื่อนไขใหม่