ไวท์บอร์ดเสมือนโดยใช้เทคโนโลยีของวีโมท

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แขนกลในงานอุตสาหกรรม Industrial Robotic Arm
Advertisements

ดนตรีไทยวงเครื่องสายบนโทรศัพท์มือถือ Siam String Musical on Mobile
COE : Microcat.
รายละเอียดของการทำ Logbook
COE นายธีรพัฒน์ เสริตานนท์ รหัส นายปกรณ์ เตชะกิจกุล รหัส อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ. บุญฤทธิ์ กู้เกียรติกูล อาจารย์ร่วมประเมินโครงการ.
CRYSTAL BALL โดย บัณฑิต มูลเพีย และ วิศรุต พรศรีเมตต์
CRYSTAL BALL โดย บัณฑิต มูลเพีย และ วิศรุต พรศรีเมตต์
Foot mouse อาจารย์ที่ปรึกษา อ. ดร. วสุ เชาว์พานนท์ อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน อ. ดร. กิตติ์ เธียรธโนปจัย ผศ. บุญฤทธิ์ กู้เกียรติกุล ผู้นำเสนอโครงการ นายวรวุฒิ
ซอฟต์แวร์ควบคุมหุ่นยนต์อย่างง่าย A Simplified Robot Controlling Software นายจักรี วิญญาณ นายนฤนารถ อออิงทรัพย์
โปรแกรมจำลองการทำงาน
ระบบตรวจสอบคลังสินค้าเครื่องประดับทองรูปพรรณและเพชรพลอย โดยใช้เทคโนโลยีการจำแนกด้วยคลื่นความถี่วิทยุ
ระบบสรุปเอกสารภาษาไทย Thai-Text Summarization
ระบบสรุปเอกสารภาษาไทย Thai-Text Summarization
Foot mouse ผู้นำเสนอโครงการ นายวรวุฒิ กีรสวัสดิ์ รหัส อาจารย์ที่ปรึกษา อ. ดร. วสุ เชาว์พานนท์ อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน อ. ดร. กิตติ์ เธียรธโนปจัย.
อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน
Low-speed UAV Flight Control Phase II
ZigBee Data Analysis Using Vector Signal Analyzer
Tiny ERP ผู้ดำเนินโครงการ อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
General Purpose Prepaid Payment System COE ระบบชำระค่าบริการ ด้วยบัตรเงินสด ผู้จัดทำ โครงการ นายธนิด นะทะศิริ รหัส นายพัฒนพงศ์ ศรีทวีกาศ.
COE ผู้จัดทำโครงการ • นายธีรพัฒน์ เสริตานนท์ รหัส • นายปกรณ์ เตชะกิจกุล รหัส อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ • ผศ. บุญฤทธิ์ กู้เกียรติกูล.
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย Wireless electronic voter
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย Wireless electronic voter
Management of International Relation Information System
Low-speed UAV Flight Control Phase II
Low-speed UAV Flight Control Phase II
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย wireless electronic voter
หมายเลขโครงการ : COE ผู้พัฒนาโครงการ : นางสาวนิรมล พันสีมา รหัส
Low-speed UAV Flight Control Phase II
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย wireless electronic voter
Wireless Sensor Network in Industrial Application
เครื่องบันทึกข้อมูลสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย Substation Data Logger
อักษรเบรลล์เชิงกล (Braille Cell)
อุปกรณ์วัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบไร้สาย Wireless Electrocardiogram
COE อาจารย์ที่ ปรึกษา โครงการ อาจารย์ที่ ปรึกษา โครงการ อ. ดร. วสุ เชาว์พานนท์ อาจารย์ผู้ ร่วมประเมิน โครงการ อ. ดร. กิตติ์ เธียร ธโนปจัย อ.
เครื่องกั้นรถไฟอัตโนมัติ
COE Electronic Voting System
COE : ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ Smart Bus Stop
COE : ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ Smart Bus Stop
Department of Computer Engineering, Khon Kaen University
COE : ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ Smart Bus Stop
โครงสร้างพื้นฐานสำหรับโทรมาตรเอนกประสงค์
ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ COE Smart Bus Stop ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ COE Smart Bus Stop หลักการและเหตุผล หลักการและเหตุผล เทคโนโลยี Zigbee เป็นการสื่อสาร.
COE : ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ Smart Bus Stop
อาจารย์ร่วมประเมิน : รศ.ดร.วนิดา แก่นอากาศ
เว็บเซอร์วิสเรียกง่าย
COE Electronic Voting System
Graphic Programming Language for PIC MCU
CRYSTAL BALL โดย บัณฑิต มูลเพีย และ วิศรุต พรศรีเมตต์
ระบบเครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้สายในโรงงานอุตสาหกรรม
Department of Computer Engineering, Khon Kaen University
Department of Computer Engineering, Khon Kaen University
COE : Microcat. ผู้พัฒนาโครงการ นาย สราวุฒิ สมญาติ อาจารย์ที่ปรึกษา อ. บุญฤทธิ์ กู้เกียรติ กูล อาจารย์ร่วมประเมิน อ. วสุ เชาว์พานนท์ อ. ดารณี หอมดี
รายละเอียดของการทำ Logbook
แผนการเรียนรู้ เรื่อง การจัดองค์ประกอบของการถ่ายภาพ
โครงการ(Project) ระบบเฝ้าระวังเครื่องแม่ข่าย
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
ระบบข้อสอบออนไลน์.
ระบบจัดเก็บค่าน้ำประปา
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การพัฒนาระบบการจัดการฐานข้อมูลการขนส่งน้ำมันกรณีศึกษาบริษัทแสงชัยโชค.
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ระบบประมวลผลการแข่งขันกีฬา : บาสเกตบอล
ป.บัณฑิต การบริหารการศึกษา รุ่นที่ 9 มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
ปัญหาการใช้เทคโนโลยี ในการศึกษา โดยกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาและอาจารย์คณะ เกษตรศาสตร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย : นางนิตยา งามยิ่งยง วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ( สยามเทค )
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
นายรัชภูมิ เกื้อภักดิ์ รหัสนักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา ดร. อนันท์ ชกสุริวงศ์ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ไวท์บอร์ดเสมือนโดยใช้เทคโนโลยีของวีโมท Virtual Whiteboard With Wiimote ไวท์บอร์ดเสมือนโดยใช้เทคโนโลยีของวีโมท

With Wiimote Virtual Whiteboard ไวท์บอร์ดเสมือนโดยใช้เทคโนโลยีของวีโมท แก้เอาชื่อนักศึกษาขึ้นก่อน อาจารย์ผู้ร่วมประเมินโครงการ อาจารย์ที่ปรึกษา โครงการ อ.ดร.กิตติ์ เธียรธโนปจัย อ.ดร.วิชชา เฟื่องจันทร์ นายพิศณุ ชัยจิตวณิชกุล รหัส 493040165-9 นางสาวพีรดา ปรีชากุล รหัส 493040167-5 นักศึกษา อ.ดร.วสุ เชาว์พานนท์

Agenda With Wiimote Virtual Whiteboard หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ การพัฒนาโครงการ การทดสอบโปรแกรม ปัญหาและอุปสรรค สรุปผลโครงการ ข้อเสนอแนะ

หลักการและเหตุผล With Wiimote Virtual Whiteboard การสอนหรือการนำเสนองานต่างๆอาจมีการใช้ - ชอล์กเขียนกระดาน - ปากกาเขียนกระดานไวท์บอร์ด - เครื่องฉายภาพ - อื่นๆ ข้อเสีย - ต้องมีการควบคุมอยู่กับตัวเครื่องตลอดเวลา - จำกัดรูปแบบของการสอน หรือนำเสนอ ปัจจุบันการสอนหรือการนำเสนองานต่างๆอาจมีการใช้ ชอล์กเขียนกระดาน, ปากกาเขียนกระดานไวท์บอร์ด, เครื่องฉายภาพ และอื่นๆ ซึ่งปัจจุบันมีการใช้เทคโนโลยีต่างๆ เข้ามาช่วยในการสอนหรือนำเสนอ แต่ยังคงต้องมีการควบคุมอยู่กับตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ตลอดเวลา ดังนั้นจึงเป็นการจำกัดรูปแบบของการสอนหรือนำเสนอ เพราะไม่ได้มีการสื่อสารระหว่างผู้พูดและผู้รับฟังมากเท่าที่ควร และในการเขียนกระดานไวท์บอร์ดต้องใช้ทั้งปากกาไวท์บอร์ดและกระดานไวท์บอร์ด และกระดานไวท์บอร์ดจะมีพื้นที่ในการติดตั้งอยู่มาก

หลักการและเหตุผล With Wiimote Virtual Whiteboard โครงการนี้จึงเกิดขึ้นเพื่อ พัฒนาไวท์บอร์ดเสมือนโดยใช้เทคโนโลยีของวีโมท จำลองไวท์บอร์ดโดยใช้วีโมทเป็นตัวจับการเคลื่อนไหวของ ใ...หลอดอินฟราเรด และใช้โปรเจคเตอร์เป็นตัวฉายภาพจาก .…คอมพิวเตอร์ ทำให้การสอนหรือการนำเสนอมีการพัฒนาที่ต่างไปจากเดิม ช่วยเพิ่มความสนใจในการรับฟังให้มากขึ้น

1 2 3 With Wiimote วัตถุประสงค์ Virtual Whiteboard เพื่อสร้างไวท์บอร์ดเสมือนโดยใช้เทคโนโลยีของวีโมทที่สามารถ ใช้งานกับโปรเจคเตอร์ได้ 2 เพื่อสร้างโปรแกรมอ่าน และวิเคราะห์ตำแหน่งที่อ่านได้จากวีโมท 3 เพื่อสร้างโปรแกรมสำหรับใช้งานวีโมทในงานนำเสนอ

1 2 การพัฒนาโครงการ With Wiimote Virtual Whiteboard การพัฒนาฮาร์ดแวร์ การพัฒนาซอฟต์แวร์ การพัฒนาโครงการแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ 1. การพัฒนาฮาร์ดแวร์ 2. การพัฒนาซอฟต์แวร์

1 การพัฒนาฮาร์ดแวร์ With Wiimote Virtual Whiteboard การพัฒนาปากกาอินฟราเรด การพัฒนาฮาร์ดแวร์ตัวแรกคือ ปากกาอินฟราเรด ปากกาอินฟราเรดจะประกอบไปด้วยหลอดอินฟราเรดฝั่งส่ง 1 หลอดและสวิตซ์กดติดปล่อยดับ 1 อันส่วนแบตเตอรี่ 1.5 volts 1 ก้อน ซึ่งปากกาอินฟราเรดจะทำหน้าที่เป็นพ้อยเตอร์แทนเมาส์

2 การพัฒนาฮาร์ดแวร์ With Wiimote Virtual Whiteboard การพัฒนาเซนเซอร์บาร์ ฮาร์ดแวร์ตัวที่ 2 คือ เซนเซอร์บาร์ โดยเซนเซอร์บาร์จะใช้หลอดอินฟราเรดประมาณ 4-5 หลอด และใช้แรงดันไฟฟ้าจาก port USB ซึ่งก็คือ 5 volts จะใช้ติดอยู่ที่ล่างฉากรับภาพ ตรงบริเวณกึ่งกลางโดยจะทำหน้าที่เปล่งแสงอินฟราเรดให้วีโมทตรวจจับ

การพัฒนาซอฟต์แวร์ With Wiimote Virtual Whiteboard พัฒนาจากโปรแกรมทดสอบไลบราลี่ ส่วนต่อไปเป็นการพัฒนาซอฟต์แวร์ นี่คือหน้าตาของโปรแกรมทดสอบไลบรารี่ก่อนการพัฒนา และนี่คือหน้าตาของโปรแกรมหลังจากพัฒนาแล้ว

1 การพัฒนาซอฟต์แวร์ With Wiimote Virtual Whiteboard การพัฒนาการใช้งานในการสอน การพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อการใช้งานในการสอน โดยการออกแบบเป็นดังรูปคือ ใช้ปากกาอินฟราเรดเพื่อเขียนสิ่งต่างๆ ลงบนกระดานไวท์บอร์ดเสมือน

การพัฒนาการ Calibration Virtual Whiteboard With Wiimote การพัฒนาการ Calibration สิ่งแรกที่พัฒนาคือ การ calibration โดยการ calibration มีวิธีการดังนี้ …. ซึ่งการ calibration จะเป็นการปรับตำแหน่งของเมาส์บนฉากรับภาพให้ตรงกับตำแหน่งของปากกาอินฟราเรด

With Wiimote Virtual Whiteboard การพัฒนาการตรวจจับแสงอินฟราเรดจากปากกาอินฟราเรด ต่อไปการพัฒนาการตรวจจับแสงอินฟราเรดจากปากกาอินฟราเรด หลังจากการทำ calibrationแล้ว เมื่อกดปุ่มที่ปากกาอินฟราเรดและวีโมทตรวจจับได้ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจะเป็นเมาส์คลิกซ้าย

2 การพัฒนาซอฟต์แวร์ With Wiimote Virtual Whiteboard การพัฒนาส่วนของการใช้งานในการนำเสนอ การพัฒนาซอฟต์แวร์ในส่วนของการใช้งานในการนำเสนอ ผู้นำเสนอจะต้องถือวีโมทไว้กับตัว ส่วนเซนเซอร์บาร์จะถูกติดอยู่ที่ใต้ฉากรับภาพ บริเวณกึ่งกลางโดยที่ผู้สอนสามารถกดปุ่มบนวีโมทเพื่อเปลี่ยนหน้าสไลด์หรืออื่นๆ ได้ตามแต่ตั้งค่าไว้

With Wiimote Virtual Whiteboard การพัฒนาการตรวจจับแสงอินฟราเรดจากเซนเซอร์บาร์ การตรวจจับแสงอินฟราเรดจากเซนเซอร์บาร์ ในการพัฒนาผู้นำเสนอไม่ต้องทำการ calibration เหมือนการใช้งานปากกาอินฟราเรด เพียงแต่หัน CMOS Image sensor ของวีโมทเข้าหาเซนเซอร์บาร์เท่านั้น ซอฟต์แวร์ก็จะทำการตรวจจับแสงอินฟราเรดและแมพกับตำแหน่งของเมาส์ให้

With Wiimote Virtual Whiteboard การพัฒนาการตรวจจับการกดปุ่มบนวีโมท การพัฒนาการตรวจจับการกดปุ่มบนวีโมท การพัฒนาจะใช้ไลบรารี่ช่วยตรวจจับ ว่าวีโมทถูกกดปุ่มใดอยู่ และสามารถใช้ซอฟต์แวร์ดังภาพเพื่อตั้งค่าปุ่มต่างๆ ของวีโมทให้จับคู่กับเมาส์หรือคีย์บอร์ดก็ได้ จากนั้นสามารถกดปุ่ม save เพื่อบันทึกค่า และสามารถกดปุ่ม Default เพื่อเรียกคืนค่าเริ่มต้นได้

With Wiimote Virtual Whiteboard การพัฒนาการตรวจจับการกดปุ่มบนวีโมท สมมติตั้งค่าปุ่ม Left Button ของวีโมทให้จับคู่กับปุ่ม z บนคีย์บอร์ด จากนั้นเมื่อทดสอบกดปุ่ม Left buttonดู ปรากฏว่ามีตัว z ขึ้นที่ notepad

With Wiimote Virtual Whiteboard การพัฒนาการใช้งาน acceleration sensor การพัฒนาการใช้งาน acceleration sensor สามารถเปิดใช้งานได้โดยกดที่ปุ่มลบบนวีโมท จากนั้นสามารถเคลื่อนที่วีโมทเพื่อให้ความเร่งของวีโมทเพิ่มจะทำให้เมาส์ขยับได้ จากนั้นทดสอบเขียนบนโปรแกรมpaint

With Wiimote Virtual Whiteboard การพัฒนาการใช้งาน gesture การพัฒนา gesture สามารถเปิดใช้งานได้ โดยติ๊กที่ check box Gesture จากนั้นฟังก์ชันจะรอตรวจจับการกดปุ่ม B ที่วีโมทและตรวจจับความเร่งให้ถึงจุดที่กำหนด

พัฒนาเจสเตอร์สำหรับวีโมทเพื่อใช้ในงานนำเสนอ Virtual Whiteboard With Wiimote พัฒนาเจสเตอร์สำหรับวีโมทเพื่อใช้ในงานนำเสนอ G e s t u r e 1

พัฒนาเจสเตอร์สำหรับวีโมทเพื่อใช้ในงานนำเสนอ Virtual Whiteboard With Wiimote พัฒนาเจสเตอร์สำหรับวีโมทเพื่อใช้ในงานนำเสนอ G e s t u r e 2

พัฒนาเจสเตอร์สำหรับวีโมทเพื่อใช้ในงานนำเสนอ Virtual Whiteboard With Wiimote พัฒนาเจสเตอร์สำหรับวีโมทเพื่อใช้ในงานนำเสนอ G e s t u r e 3

พัฒนาเจสเตอร์สำหรับวีโมทเพื่อใช้ในงานนำเสนอ Virtual Whiteboard With Wiimote พัฒนาเจสเตอร์สำหรับวีโมทเพื่อใช้ในงานนำเสนอ G e s t u r e 4

Virtual Whiteboard การทดสอบโปรแกรม With Wiimote

1 2 3 ปัญหาและอุปสรรค With Wiimote Virtual Whiteboard โปรแกรมทดสอบไลบรารี่ที่ให้มากับตัวไลบรารี่ของวีโมท ไม่สามารถนำไฟล์นามสกุล (.exe) ไปรันเองได้ 2 การออกแบบ User Interface ต้องมีการแก้ไขอยู่หลายครั้ง 3 ปัญหา Cross-thread operation not valid 1. การเขียนโปรแกรมเพื่อเรียกใช้ไลบรารี่ของวีโมท เมื่อใช้โปรแกรมทดสอบไลบรารี่ที่ให้มากับตัวไลบรารี่ของวีโมท ไม่สามารถนำไฟล์นามสกุล (.exe) ไปรันเองได้ ต้องใช้ visual studio ในการรัน จึงเกิดปัญหาขึ้นว่าถ้าจะใช้งานโปรแกรมต้องใช้ visual studio มารัน ดังนั้นจึงต้องสร้างโปรเจคขึ้นใหม่ ไม่สามารถใช้โปรแกรมทดสอบไลบรารี่มาพัฒนาต่อได้ และใช้การเพิ่ม reference ที่เป็นไฟล์นามสกุล (.dll) แทน 2. การออกแบบ User Interface ต้องมีการแก้ไขอยู่หลายครั้งเนื่องจากการเพิ่มฟังก์ชันการทำงานเข้าไปทำให้ต้องปรับเปลี่ยน User Interface อยู่ตลอดเวลาและอีกเหตุผลหนึ่งคือตัว User Interfaceเองไม่สามารถตอบสนองการใช้งานของผู้ใช้ได้เต็มที่ ซึ่งได้ให้ผู้ใช้ลองทดสอบดูและจัดการแก้ไขตามความเหมาะสม 3. ในการเขียนโปรแกรมจะพบปัญหา Cross-thread operation not valid คือปัญหาที่เกิดจากการเขียนโปรแกรมเพื่อปรับเปลี่ยนค่า properties ของ UI Control เช่น label , check box หรือ button เป็นต้น ในการแก้ปัญหาก็ใช้การสร้าง delegate แล้วเรียกใช้ตรงที่เกิดปัญหา

สรุปผลโครงการ With Wiimote Virtual Whiteboard ได้ไวท์บอร์ดเสมือนโดยใช้เทคโนโลยีของวีโมท ที่สามารถใช้งานกับโปรเจคเตอร์ได้

สรุปผลโครงการ With Wiimote Virtual Whiteboard ได้โปรแกรมอ่านวิเคราะห์ตำแหน่งของปากกา

สรุปผลโครงการ With Wiimote Virtual Whiteboard ได้โปรแกรมสำหรับใช้งานวีโมทในงานนำเสนอ

1 2 ข้อเสนอแนะ With Wiimote Virtual Whiteboard ควรศึกษาการออกแบบอินเตอร์เฟสให้ผู้ใช้งานสามารถเข้าใจได้ง่ายและสะดวกต่อการใช้งาน 2 ควรศึกษาการนำอุปกรณ์อื่นๆ ที่สามารถเชื่อมต่อกับวีโมทได้ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้งานในโครงการต่อไป

Q&A With Wiimote Virtual Whiteboard คับอาจารย์หรือเพื่อนๆ ท่านใดมีข้อเสนอแนะหรือข้อซักถามอะไรไหมคับ