COE : ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ Smart Bus Stop

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เกดิษฐ เกิดโภคา วรรณาภรณ์ เทียรท้าว สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
Advertisements

อุปกรณ์วัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบไร้สาย Wireless Electrocardiogram
เครื่องกั้นรถไฟอัตโนมัติ
การพัฒนาระบบตรวจหาจุดที่เกิดเหตุการณ์การคายประจุไฟฟ้าสถิตแบบไร้สายสำหรับสายงานการผลิตฮาร์ดดิสก์ Development of a Wireless Electrostatic Discharge (ESD)
COE : Microcat.
COE นายธีรพัฒน์ เสริตานนท์ รหัส นายปกรณ์ เตชะกิจกุล รหัส อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ. บุญฤทธิ์ กู้เกียรติกูล อาจารย์ร่วมประเมินโครงการ.
CRYSTAL BALL โดย บัณฑิต มูลเพีย และ วิศรุต พรศรีเมตต์
CRYSTAL BALL โดย บัณฑิต มูลเพีย และ วิศรุต พรศรีเมตต์
ซอฟต์แวร์ควบคุมหุ่นยนต์อย่างง่าย A Simplified Robot Controlling Software นายจักรี วิญญาณ นายนฤนารถ อออิงทรัพย์
โปรแกรมจำลองการทำงาน
ระบบสรุปเอกสารภาษาไทย Thai-Text Summarization
อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน
Low-speed UAV Flight Control Phase II
ZigBee Data Analysis Using Vector Signal Analyzer
COE ผู้จัดทำโครงการ • นายธีรพัฒน์ เสริตานนท์ รหัส • นายปกรณ์ เตชะกิจกุล รหัส อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ • ผศ. บุญฤทธิ์ กู้เกียรติกูล.
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย Wireless electronic voter
อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน อ. ดร. กิตติ์ เธียรธโนปจัย อ. วาธิส ลีลาภัทร
Wireless Sensor Network for Smart Home COE
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย Wireless electronic voter
นางสาวสุรีย์พร ศรีภิรมย์
การพัฒนาระบบการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ สำหรับมหาวิทยาลัยขอนแก่น
Wireless Sensor Network in Industrial Application COE
ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล
Low-speed UAV Flight Control Phase II
Measuring wheels Capable of trajectory mapping in 2-D plane
Low-speed UAV Flight Control System
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย wireless electronic voter
Substation Data Logger เครื่องบันทึกข้อมูลสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย
Low-Speed UAV Flight Control System
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย wireless electronic voter
Wireless Sensor Network in Industrial Application
เครื่องวัดชีพจรแบบไร้สาย Wireless Heart Rate Monitor
อุปกรณ์วัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบไร้สาย Wireless Electrocardiogram
COE อาจารย์ที่ ปรึกษา โครงการ อาจารย์ที่ ปรึกษา โครงการ อ. ดร. วสุ เชาว์พานนท์ อาจารย์ผู้ ร่วมประเมิน โครงการ อ. ดร. กิตติ์ เธียร ธโนปจัย อ.
เครื่องกั้นรถไฟอัตโนมัติ
ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล
COE : ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ Smart Bus Stop
COE : ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ Smart Bus Stop
Department of Computer Engineering, Khon Kaen University
โครงสร้างพื้นฐานสำหรับโทรมาตรเอนกประสงค์
ไวท์บอร์ดเสมือนโดยใช้เทคโนโลยีของวีโมท
Agenda วัตถุประสงค์ การออกแบบระบบ การทดสอบ ประโยชน์ที่ได้รับ
นางสาวกิติยา จันทรุกขา นางสาวอรุณโรจน์ ชูสกุล
ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ COE Smart Bus Stop ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ COE Smart Bus Stop หลักการและเหตุผล หลักการและเหตุผล เทคโนโลยี Zigbee เป็นการสื่อสาร.
COE : ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ Smart Bus Stop
โครงการเครือข่ายไฟจราจรอัจฉริยะ Intelligent Traffic Light Network
นายเจษฎา ช้างสีสังข์ นายกรกฏ สุภา COE อาจารย์ที่ปรึกษาดร. กิตติ์ เธียรธโนปจัย อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน 1 ดร. นว ภัค เอื้ออนันต์
CRYSTAL BALL โดย บัณฑิต มูลเพีย และ วิศรุต พรศรีเมตต์
ระบบเครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้สายในโรงงานอุตสาหกรรม
Department of Computer Engineering, Khon Kaen University
Department of Computer Engineering, Khon Kaen University
COE : Microcat. ผู้พัฒนาโครงการ นาย สราวุฒิ สมญาติ อาจารย์ที่ปรึกษา อ. บุญฤทธิ์ กู้เกียรติ กูล อาจารย์ร่วมประเมิน อ. วสุ เชาว์พานนท์ อ. ดารณี หอมดี
COE : Microcat. ผู้พัฒนาโครงการ นาย สราวุฒิ สมญาติ อาจารย์ที่ปรึกษา อ. บุญฤทธิ์ กู้เกียรติ กูล อาจารย์ร่วมประเมิน อ. วสุ เชาว์พานนท์ อ. ดารณี หอมดี
รายงานความก้าวหน้าโครงการ Wireless Sensor Network for Smart Home
Low-Speed UAV Flight Control System
( Crowdsourcing Health Information System Development )
ระบบประมวลผลการแข่งขันกีฬา : บาสเกตบอล
เครื่องวัดระดับน้ำในถังเก็บ
กรณีศึกษา : งานบริหารและธุรการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
รูปแบบของการรายงานผลการ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2549/ ปีงบประมาณ คณะกรรมการประเมินคุณภาพ ภายใน 2. ข้อมูลของคณะ / หน่วยงาน ( โดยสังเขป ) 3.
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
ระบบ RFID บนทางด่วน RFID systems on the highway
แผนการดำเนินงาน 2558 กองบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
สรุปงานที่ ต้องทำต่อ ศูนย์เทคโนโลยีและการสื่อสาร กองแผนงาน กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริม การเกษตร.
จัดทำโดย นายศรัณยู ตรียะโชติ KKU นายธีรวัฒน์ ทองประมูล KMITL Position System ESTATE GROUP.
ชื่อโครงการ ผู้นำเสนอ ฝ่าย วันที่ การประชุมนำเสนอผลการปฏิบัติงานโครงการประจำปีงบประมาณ พ. ศ.2550 นายเกษม วงค์แสน เครือข่ายสื่อสารและบริการวิทยาเขต 30 พฤษภาคม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

COE2010-14: ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ Smart Bus Stop โดย นางสาวนันทนา วลีขจรเลิศ 503040236-3 นางสาวกฤษวรรณ พิมพ์ดี 503040758-3

อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ดร อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ดร.วสุ เชาว์พานนท์ อาจารย์ผู้ร่วมประเมินโครงการ ดร.ชัชชัย คุณบัว ดร.วิชชา เฟื่องจันทร์

รายละเอียดการนำเสนอ 1. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2. ขอบเขตของโครงการ 3. การออกแบบวงจรที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูลทาง Led 4. การทดสอบระบบ 5. ผลที่ได้รับ 6. ปัญหาที่และอุปสรรคที่พบ 7. ข้อเสนอแนะ

วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อพัฒนาระบบการค้นหาตำแหน่งของรถเมล์ และการส่งข้อมูลไปยังป้ายรถเมล์ โดยใช้ Zigbee เพื่ออำนวยความสะดวกในการเดินทางแก่ผู้โดยสาร เนื่องจากผู้โดยสารจะทราบตำแหน่งของรถเมล์ และจะสามารถประมาณเวลาที่รถเมล์จะมาถึงป้ายได้ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้โดยสารในการวางแผนการเดินทาง เพื่อนำความรู้ทาง Embedded System และเทคโนโลยีZigbee มาประยุกต์ใช้งาน

ขอบเขตของโครงการ ระยะทางในการรับส่งข้อมูลตำแหน่งที่ Zigbee สามารถส่งสัญญาณถึงกันได้ ใช้อุปกรณ์ Microcontroller เพื่อทำการแสดงตำแหน่งของรถเมล์ผ่านหลอดไฟ Led ทดสอบการทำงานกับรถเมล์ 1 คัน และป้ายรถเมล์ 4 ป้าย

การออกแบบวงจร วงจรที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูลทาง Led ทำการออกแบบวงจร Shift Register (D-FlipFlop, Serial-in Parallel-out)

การออกแบบวงจร (ต่อ)

การทดสอบระบบ ทดสอบการรับส่งสัญญาณระหว่างชุด Microcontroller 5 ชุด โดยกำหนดให้ชุดหนึ่งเป็นรถเมล์ (สายสีแดง) ทำหน้าที่ส่งสัญญาณ และอีก 4 ชุด เป็นป้ายรถเมล์ (ป้าย 8 คือ คณะสถาปัตยกรรม, ป้าย 9 คือ คณะเภสัชศาสตร์, ป้าย 11 คือ คณะพยาบาลศาสตร์, ป้าย 12 คือ ศูนย์แพทย์) ดังรูป

การทดสอบระบบ (ต่อ)

การทดสอบระบบ (ต่อ) ทดสอบภายในห้อง

การทดสอบระบบ (ต่อ) แนะนำ

การทดสอบระบบ (ต่อ) จุดที่วางอุปกรณ์

การทดสอบระบบ (ต่อ) ทดสอบกับสถานที่จริง

การทดสอบระบบ (ต่อ) ทดสอบระยะการรับส่งสัญญาณ

การทดสอบระบบ (ต่อ) ทดสอบระยะการรับส่งสัญญาณ

ผลที่ได้รับ 1. ได้อุปกรณ์ต้นแบบในการค้นหา, ระบุตำแหน่งของรถเมล์ และส่งข้อมูลไปยังป้ายรถเมล์เพื่อทำการแสดงผลผ่านทางหลอด Led ซึ่งสามารถนำอุปกรณ์นี้ไปพัฒนาเพื่อใช้งานต่อได้ 2. ได้ความรู้ในการประยุกต์ใช้ Embedded System และเทคโนโลยีการสื่อสารระยะใกล้ในเครือข่ายเซ็นเซอร์แบบไร้สาย (Wireless Sensor Network) ของ Zigbee

ปัญหาและอุปสรรคที่พบ 1. Xbee ไม่สามารถรับส่งข้อมูลได้ในระยะทางที่ระบุไว้ ตาม specification อาจเนื่องมาจากถูกสัญญาณอื่น รบกวน หรืออยู่ในระยะ non-line of sight 2. สามารถระบุตำแหน่งของรถเมล์ได้โดยประมาณ เนื่องจากไม่ได้นำค่าความเข้มของสัญญาณมา คำนวณระยะทาง

ข้อเสนอแนะ ตรวจสอบระยะการรับส่งสัญญาณจริง และทำการวัดความเข้มของสัญญาณ เพื่อการระบุตำแหน่งที่แม่นยำมากยิ่งขึ้น

Q&A