เพื่อเพิ่มคุณภาพของการให้บริการ Enhance Service Quality COE2005-02 การจัดการจราจร เพื่อเพิ่มคุณภาพของการให้บริการ Traffic Management to Enhance Service Quality
นายชาคริน เจียรนัยพาณิชย์ อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก ผศ. พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล COE 2005-02 Team Developer นายชาคริน เจียรนัยพาณิชย์ 453040658-2 นายพงศกร นครรัตนชัย 453040812-8 นายวีระยุทธ วิไลแก้ว 453040948-3 อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก ผศ. พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล อาจารย์ร่วมประเมิน ดร.ชัชชัย คุณบัว ดร.กิตต์ เธียรธโนปจัย
Agenda 1. Introduction 2. Theorem 3. Project Planning COE 2005-02 Agenda 1. Introduction 2. Theorem 3. Project Planning 4. Conceptual Design & Demo 5. Conclusion
Introduction วัตถุประสงค์ และประโยชน์ที่จะได้รับ ขอบเขตของงาน COE 2005-02 Introduction วัตถุประสงค์ และประโยชน์ที่จะได้รับ ขอบเขตของงาน ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง งานที่เกี่ยวข้อง
วัตถุประสงค์ และประโยชน์ที่จะได้รับ COE 2005-02 วัตถุประสงค์ และประโยชน์ที่จะได้รับ สามารถจัดการกับการจราจรบนเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ใช้ที่ไม่มีความเชี่ยวชาญในการวิเคราะห์สามารถจัดการกับระบบของตนเองได้ เพื่อให้เข้าใจถึงลักษณะการจราจร ปัญหา และข้อบกพร่องต่างๆ ของ ระบบที่มีการใช้จริง สามารถใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
ขอบเขตของงาน งานด้าน Network COE 2005-02 ขอบเขตของงาน งานด้าน Network งานด้านการจัดการการส่งข้อมูลในระบบเครือข่าย การออกแบบระบบ Network
ทฤษฏีและงานที่เกี่ยวข้อง COE 2005-02 ทฤษฏีและงานที่เกี่ยวข้อง Little’s Theorem Queueing Theory ในแบบ M/M/1 Jackson’s Theorem Convex Functions Markov’s Chain Flow vector Flow Optimization
Project Planning ในส่วนของแผนดำเนินการนั้นแบ่งออกเป็น 3 ส่วน COE 2005-02 Project Planning ในส่วนของแผนดำเนินการนั้นแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ในภาคการศึกษาที่ 1 ประกอบด้วย Phase 1 ในด้านการเก็บรวบรวมข้อมูล และศึกษาทฤษฏีในการทำงาน Phase 2 การออกแบบ Conceptual Design และ การพัฒนโปรแกรมขั้นต้น ในภาคการศึกษาที่ 2 ประกอบด้วย Phase 3 การหาจุดบกพร่อง และการทดสอบโปรแกรม จากข้อมูลข้างต้นจะได้ Cycle Diagram และ Progress Diagram ดังนี้
ออกแบบและ พัฒนาโปรแกรม COE 2005-02 Cycle Diagram 5 1 รวบรวม ข้อมูล ทดสอบและ แก้ไข 2 ศึกษาข้อมูล และศึกษาทฤษฏี ขั้นตอนการทำงาน 4 3 ออกแบบและ พัฒนาโปรแกรม ประยุกต์ ทฤษฏี
Progress Diagram ภาคการศึกษาที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 Phase 1 Phase 2 COE 2005-02 Progress Diagram Phase 1 Phase 2 Phase 3 1.รวบรวมข้อมูล 2.ศึกษาทฤษฏี 3.ประยุกต์ทฤษฏีที่จะนำมาใช้ 1.ออกแบบโปรแกรม 2.ออกแบบ Conceptual Design 3.พัฒนาโปรแกรม 1.ตรวจหาข้อผิดพลาด 2.ทดสอบการใช้งาน 3.แก้ไขส่วนบกพร่อง ภาคการศึกษาที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2
ผลงานที่ได้ทำ ผลงานที่ได้พัฒนาต่อจากคราวที่แล้ว COE 2005-02 ผลงานที่ได้ทำ ผลงานที่ได้พัฒนาต่อจากคราวที่แล้ว ศึกษาทฤษฏีของ Flow vector และ Flow Optimization การสร้าง Conceptual Design ของโปรแกรม การออกแบบโปรแกรม การออกแบบ Module ในการทำงานของโปรแกรม พัฒนาโปรแกรม
Design Algorithm ของวิธีการคำนวณ Little’s Theorem COE 2005-02 Design Algorithm ของวิธีการคำนวณ จากการศึกษา ทฤษฎีต่างๆที่มีความเกี่ยวข้องอันได้แก่ Little’s Theorem Queueing Theory ในแบบ M/M/1 Jackson’s Theorem Convex Functions Markov’s Chain Flow vector Flow Optimization
Algorithm ของวิธีการคำนวณ COE 2005-02 Algorithm ของวิธีการคำนวณ จะกล่าวถึง 2 ทฤษฏีหลักที่นำมาใช้ในโปรแกรม Flow vector Flow Optimization
Flow vector Flow vector คืออะไร? COE 2005-02 Flow vector Flow vector คืออะไร? หลักในการคำนวณของ Flow vector เป็นอย่างไร? ประยุกต์ใช้ Flow vector กับโปรแกรมได้อย่างไร? สรุป Flow Vector คือ Vector n มิติที่ ทำการ แทนการถ่ายโอนข้อมูลในระบบ network โดย n คือ จำนวนของ Link ในระบบ เช่น ระบบ มี Link ทั้งหมด n และ n คืออัตราการส่งผ่านข้อมูลใน Link n
Flow Optimization ขั้นที่ 1 หา Flow Vector ของระบบ COE 2005-02 Flow Optimization ขั้นที่ 1 หา Flow Vector ของระบบ ขั้นที่ 2 นำค่า Flow ที่ได้ ไปหา Time Delay ขึ้นที่ 3 ทำการ ปรับค่า Flow ของ ระบบเพื่อให้ได้ Time Delay ที่ดีขึ้น ขึ้นที่ 4 ทำการนำค่า Flow ใหม่ที่ได้ไปเป็น Flow ตั้งต้นเพื่อทำการปรับค่าต่อไป ทำการปรับค่าไปจนกว่า จะได้ ค่า f(n+1) = f(n) ซึ่งเป็นค่า Flow ที่ดีที่สุดที่ทำให้ระบบเกิด Time Delay น้อยที่สุด สรุป Flow Optimization คือ วิธีการที่จะทำการค้นหา ค่า Flow ของ Link ทุกๆ Link ในระบบที่ทำให้ Time Delay ของระบบเกิดขึ้นน้อยที่สุด
Design (Cont) User Interface COE 2005-02 Design (Cont) User Interface User Interface นี้ได้ทำการสร้างขึ้นโดยมีจุดประสงค์เพื่อให้ผู้ใช้สามารถสร้าง ระบบ network ที่ต้องการได้ด้วยตนเองและยังสามารถกำหนด Parameter ต่างๆ ในระบบได้อีกด้วย
COE 2005-02 User Interface
Programming Module Programming Module COE 2005-02 Programming Module Programming Module ในการ Programming นั้น ได้ทำการแบ่งส่วนต่างๆของ Program ออกเป็น 6 Modules ใหญ่ๆซึ่งแต่ล่ะ Module ทำหน้าที่ต่างๆกันดังนี้ System Module Device Module Input Output Module Calculation Module Image and Graphics Module Simulation Module
ตัวอย่างผลงาน DEMO COE 2005-02
แผนงานขั้นต่อไป สำหรับการดำเนินการขั้นต่อไปมีดังนี้ COE 2005-02 แผนงานขั้นต่อไป สำหรับการดำเนินการขั้นต่อไปมีดังนี้ เขียนส่วนของการคำนวณในโปรแกรม ทดสอบผลที่ได้จากระบบ เทียบกับข้อมูลที่เก็บศึกษามา ปรับปรุงแก้ไขส่วนที่บกพร่อง เขียนสรุปและคู่มือการใช้งาน
Conclusion ส่วนสรุปแยกเป็นหัวข้อดังนี้ ปัญหาและแนวทางการแก้ไข COE 2005-02 Conclusion ส่วนสรุปแยกเป็นหัวข้อดังนี้ ปัญหาและแนวทางการแก้ไข ความสำเร็จของงานเทียบกับเป้าหมายที่กำหนดไว้
ปัญหาและข้อสงสัย Question COE 2005-02