ฟังให้ดีมีประโยชน์
บทบาทของการฟังในชีวิตประจำวัน - การรับข้อมูลข่าวสารต่างๆ 1. การแสวงหาความรู้ 2. การพักผ่อนหย่อนใจ 3. การพัฒนาตนเอง 4. การตัดสินใจ 5. การประกอบอาชีพ - บทบาทในสังคม
ลักษณะการฟังที่ดี 1. มีสมาธิในการฟัง 2. จับประเด็นสำคัญ 3. พิจารณาไตร่ตรองเรื่องที่ฟัง
ลักษณะการฟังแบบต่างๆ 1. การฟังอย่างเข้าใจ 2. การฟังอย่างมีวิจารณญาณ 3. การฟังอย่างประเมินคุณค่า 4. การฟังเพื่อการพักผ่อน
ปัจจัยของการใช้หลักการฟัง - ประเภทของสาร 1. สารที่เป็นข่าวสาร 2. สารจรรโลงใจ 3. สารโน้มน้าวใจ 4. สารที่ต้องการคำตอบ - คุณภาพของผู้รับสาร
การฟังสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ลักษณะของการฟัง 1. เลือกฟัง 2. จำกัดรูปแบบการฟัง 3. ฟังได้เที่ยวเดียว 4. เป็นส่วนหนึ่งของชีวิต
การฟังสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หลักการฟัง 1. มีวิจารณญาณ 2. ตอบสนองสาร 3. รู้เท่าทันผู้ส่งสาร
การฟังสื่ออิเล็กทรอนิกส์ อุปสรรคของการฟัง 1. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ 2. สาร 3. ผู้รับสาร
การฟังสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ประโยชน์ของการฟัง 1. ได้รับความรู้ 2. ใช้ประโยชน์ในชีวิตและสังคม 3. ได้รับการศึกษา 4. ได้รับความเพลิดเพลิน
การพัฒนาสมรรถภาพการฟัง ปัญหาและอุปสรรคของการฟัง 1. นิสัยในการฟัง - ฟังเฉพาะที่สนใจ - ฟังแต่เรื่องง่ายๆ
การพัฒนาสมรรถภาพการฟัง ปัญหาและอุปสรรคของการฟัง - ฟังแต่ผู้มีชื่อเสียง - ไม่ฟังเรื่องซ้ำ - ฝันกลางวัน - ช่วงความสนใจสั้น
การพัฒนาสมรรถภาพการฟัง วิธีการฟัง - ฟังไม่ถูกวิธี - สนใจสิ่งอื่น - ฟังผ่านๆ
การพัฒนาสมรรถภาพการฟัง วิธีการฟัง - ได้ยินเท่านั้น - ประเมินค่าตลอดเวลา - คิดเองล่วงหน้า - ไม่มีสมาธิ
การพัฒนาสมรรถภาพการฟัง ปัญหาและอุปสรรคอื่นๆ - ผู้ส่งสารหรือผู้พูด - สื่อ - สถานการณ์และสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาสมรรถภาพการฟัง แนวทางพัฒนาสมรรถภาพในการฟัง 1. สำนวน 2. คำสอนในพุทธศาสนา 3. อิทธิบาท 4
การพัฒนาสมรรถภาพการฟัง ขั้นตอนการพัฒนา - พัฒนาบุคลิกภาพ - พัฒนาวิธีการฟัง - พัฒนานิสัยการฟัง
การพัฒนาสมรรถภาพการฟัง มารยาทในการฟัง 1. ความจริงใจ 2. การยอมรับ