ระบบตัวเลขโรมัน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
Advertisements

ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
เลขยกกำลัง.
ป.2 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน1,000”
สวนสัตว์ จำนวนนับ ตอน 2”โลกใต้ทะเล”
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
บทที่ 1 “จำนวนนับ 1 ถึง 5 และ 0”
ป.3 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน100,000”
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Appendix A2 จัดทำโดย นางสาว อารยา จำปัน
ระบบเลขฐานสอง โดย นางสาวภาณุมาศ นักษัตรมณฑล รหัสนิสิต
เลขฐานต่าง ๆ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ.
ประเภทของข้อมูล Excel 2007
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
การอ่านและการเขียนทศนิยมไม่เกินสองตำแหน่ง
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
เรื่อง การคูณ สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดย ครูเพ็ญพิมล สิทธิวรเกียรติ
ป.4 บทที่ 1 “จำนวนนับ เกิน100,000”
แบบสำรวจสายตานักเรียนในโครงการแว่นสายตา
ป.6 บทที่ 1 “จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหาร”
เรื่อง นาฬิกา นาฬิกาข้อมือ นาฬิกาแขวน นาฬิกาปลุก นาฬิกาจับเวลา
CS Assembly Language Programming
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
อสมการ.
ระบบตัวเลขฐานสิบสอง สัญลักษณ์หรือเลขโดดที่ใช้ในระบบตัวเลขฐานสิบสอง
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
บทที่ 1 อัตราส่วน.
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
EEE 271 Digital Techniques
Digital Logic and Circuit Design
การตวง ความหมายของการตวง -    การตวง    คือ    การวัดปริมาณของสิ่งของต่างๆหรือหาความจุของภาชนะต่างๆ เครื่องตวง -    เครื่องที่เป็นมาตรฐาน    เช่น   
Introduction to Digital System
คณิตศาสตร์ แสนสนุก.
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การแปลงเลขฐานใดๆเป็นฐานใดๆ
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน เรื่อง วิธีการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน และการออกหนังสือรับรองว่าเป็นผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
เรื่อง คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
ที่สุด.
Mathematics Money
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
โรงเรียนบ้านละหาร เสนอ
คุณครูพรพิมล ตันติวรธรรม โรงเรียนบ้านวังไผ่ สพท.กาญจนบุรี เขต 2
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ระบบเลขฐานต่าง ๆ By ครูนภาพร.
ง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระบบเลขฐาน
การอ่านสเกลบนหน้าปัดในการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (DC.V )
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่อง เลขยกกำลัง อัตรส่วนและร้อยละ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
เรื่อง เงิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
บทที่ 3 เลขยกกำลัง เนื้อหา ความหมายของเลขยกกำลัง
โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97 (บ้านบางบอน) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง
ความมหัศจรรย์.
ระบบเลขจำนวน ( Number System )
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
พระพุทธศาสนา.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบตัวเลขโรมัน

เลขโรมัน เลขอารบิก ค่าของตัวเลข I 1 หนึ่ง II 2 สอง III 3 สาม IV 4 สี่ V 5 ห้า VI 6 หก VII 7 เจ็ด VIII 8 แปด IX 9 เก้า X 10 สิบ

ตัวเลขโรมัน I V X L C D M ตัวเลขฮินดู อารบิก 1 5 10 50 100 500 1000 จำนวนที่มีค่าเกินกว่าที่กำหนดไว้ตามสัญลักษณ์ดังกล่าว จะเขียน บาร์ (ขีด) ไว้บนสัญลักษณ์เหล่านี้ ซึ่งหากบาร์ถูกกำหนดไว้บนสัญลักษณ์ใด สัญลักษณ์นั้นจะแทนจำนวนซึ่งมีค่าเท่ากับสัญลักษณ์นั้นคูณด้วย 1,000 เช่น มีค่าเท่ากับ 5 × 1,000 = 5,000 มีค่าเท่ากับ 10 × 1,000 = 10,000 มีค่าเท่ากับ 50 × 1,000 = 50,000 มีค่าเท่ากับ 100 × 1,000 = 100,000 มีค่าเท่ากับ 500 × 1,000 = 500,000 มีค่าเท่ากับ 1,000 × 1,000 = 1,000,000 โดยปกติแล้ว การเขียนเลขโรมันจะไม่เขียนสัญลักษณ์เดียวกันอยู่ติดกันตั้งแต่ 4 ตัวขึ้นไป ยกเว้นบนหน้าปัดนาฬิกา ที่จะใช้ IIII แทนเวลา 4 นาฬิกาหรือ 16 นาฬิกา เพื่อป้องกันความสับสนในการอ่านเวลา

การเขียนตัวเลขโรมัน     การเขียนตัวเลขโรมันแทนจำนวนต่างๆ  มีข้อจำกัดดังนี้          1. เขียนสัญลักษณ์แต่ละตัวเรียงกันได้ไม่เกิน 3 ตัว        2. ถ้าเขียนตัวเลขที่มีค่าน้อยไว้ด้านซ้ายมือของตัวเลขที่มีค่ามากกว่า  ให้            นำค่าของตัวเลขที่มีค่าน้อยกว่าลบ ออกจากตัวเลขที่มีค่ามาก   เช่น IV = 5 - 1 = 4 XC = 100 - 10 = 90 CM = 100 - 100 = 900 3. ถ้าเขียนตัวเลขที่มีค่าน้อยกว่าไว้ด้านขวามือของตัวเลขที่มีค่ามากกว่า  ให้           นำค่าของตัวเลขทั้งหมดมารวมกัน   เช่น VI = 5 + 1 = 6 CXX = 100 + 10 + 10 =120 DLXI = 500 + 50 + 10 + 1 = 561

มาลองทบทวนกันหน่อยนะจ๊ะ... คิดคำตอบได้แล้วคลิ๊กที่แฮมทาโร่ได้เลยค่ะ!!! XCV = 95 CVII = 107 DCCI = 701 CDLIV = 454 CCCXL = 340 ทำเสร็จแล้ว...

...ก็ลงมือทำแบบทดสอบหลังเรียน ได้เลยนะคะ...Q(>,<)/ ถ้าเข้าใจและทำแบบฝึกหัดได้แล้ว... ...ก็ลงมือทำแบบทดสอบหลังเรียน (Post – Test) ได้เลยนะคะ...Q(>,<)/