งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบเลขฐานสอง โดย นางสาวภาณุมาศ นักษัตรมณฑล รหัสนิสิต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบเลขฐานสอง โดย นางสาวภาณุมาศ นักษัตรมณฑล รหัสนิสิต"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบเลขฐานสอง โดย นางสาวภาณุมาศ นักษัตรมณฑล รหัสนิสิต 5414600546
โดย นางสาวภาณุมาศ นักษัตรมณฑล รหัสนิสิต สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์

2 สวัสดีจ้า!! ครูจะอธิบายให้ฟังนะจ๊ะ เลขฐานสองต่างกับฐานสิบอย่างไรครับ
สวัสดีครับคุณครูภา

3 ระบบเลขฐาน ระบบเลขฐานสิบ ระบบเลขฐานสอง
เป็นระบบที่มีตัวเลขอยู่ 10 ตัวคือ 0 – 9 ระบบเลขฐานสอง เป็นระบบที่มีตัวเลขอยู่เพียงแค่ 2 ตัว คือ 0 และ 1

4 เข้าใจ concept ของเลขฐาน รียังจ๊ะ
เลขฐานทุกระบบเหมือนกัน หลักการ คือ ถ้าเต็มหลักก็จะทดไปหลักที่มากกว่า เข้าใจ concept ของเลขฐาน รียังจ๊ะ แล้วการนับเลขฐานสอง ต่างกับฐานสิบ ?? เข้าใจแล้วครับ

5 1 1 + ถ้าในความเข้าใจของเรา = 2 ซึ่งในเลขฐานสอง เลขสูงสุดแต่ละหลักคือ 1 จึงต้องทดไปหลักถัดไป + 1 1 1

6 การนับเลข 1 หลักแรกเต็ม จึงต้องทดข้ามไปหลักถัดไป 10
1 10 11 100 101 110 111 1000 1001 หลักแรกเต็ม จึงต้องทดข้ามไปหลักถัดไป หลักแรกกลายเป็น 0 หลักที่สองมีค่าเป็น 1 สองหลักแรกเต็ม จึงต้องมีการทดข้ามไปหลักที่สาม สองหลักแรกกลายเป็น 0 หลักที่สามมีค่าเป็น 1 สามหลักแรกเต็ม จึงต้องทดข้ามไปหลักที่สี่ สามหลักแรกกลายเป็น 0 หลักที่สี่มีค่าเป็น 1

7 การนับหลักของตัวเลขในระบบเลขฐานสอง
บิตที่มีค่าความสำคัญน้อยที่สุด (Least Significant Bit – LSB) อยู่ทางขวาสุด บิตที่มีค่าความสำคัญมากที่สุด (Most Significant Bit – MSB) อยู่ทางซ้ายสุด ตัวอย่าง Least Significant Bit (LSB) Most Significant Bit (MSB)

8 นับเลขของเลขฐานสองไม่ยากใช่มั๊ย
ได้สิคะ เราสามารถแปลงเลขระหว่างฐานสิบและฐานสองได้ นับเลขของเลขฐานสองไม่ยากใช่มั๊ย เราเทียบค่าระหว่างเลขฐานสองกับฐานสิบได้มั๊ยครับ ?? ไม่ยากครับ

9 การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบ
การกระจายค่าประจำหลัก ตัวอย่าง (10111)2 มีค่าเท่ากับเท่าไรในระบบเลขฐานสิบ วิธีทำ (10111)2 = 1x24 + 0x23 + 1x22 + 1x21 + 1x20 = = 2310

10 ทดสอบ (110110)2 มีค่าเท่ากับเท่าไรในระบบเลขฐานสิบ
วิธีทำ (110110)2 = 1x25 + 1x24 + 0x23 + 1x22 +1x21 + 0x20 = = 5410 ทำถูกกันรึเปล่าคะ ^.^

11 การแปลงเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง
การหารด้วย 2 แล้วจดค่าเศษจากการหารไว้ จนกระทั่งหารไม่ได้อีกแล้ว จากนั้นนำเศษ จากการหารแต่ละครั้ง มาไล่ลำดับจากล่างขึ้นไปหาค่าบนสุด ผลลัพธ์ที่ได้จะเท่ากับค่าในเลขฐานสอง ลักษณะดังนี้ =>

12 ตัวอย่าง 2610 มีค่าเท่ากับเท่าไรในระบบเลขฐานสอง วิธีทำ
ตัวอย่าง มีค่าเท่ากับเท่าไรในระบบเลขฐานสอง วิธีทำ ดังนั้น จึงมีค่าเท่ากับ 12

13 3610 มีค่าเท่ากับเท่าไรในระบบเลขฐานสอง 1001002
ทดสอบ 3610 มีค่าเท่ากับเท่าไรในระบบเลขฐานสอง 1710 มีค่าเท่ากับเท่าไรในระบบเลขฐานสอง 100012 7110 มีค่าเท่ากับเท่าไรในระบบเลขฐานสอง 13

14 แปลงเลขฐานสองและฐานสิบได้แล้วใช่มั๊ยคะ
ด้วยความยินดีค่ะ ^.^ สวัสดีจ้า ขอบคุณครูภามากนะครับ สวัสดีครับ ใช่ครับ

15 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt ระบบเลขฐานสอง โดย นางสาวภาณุมาศ นักษัตรมณฑล รหัสนิสิต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google