การใช้งานฐานข้อมูล Annual Reviews โดย วิภาดา ดวงคิด ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ขอแนะนำฐานข้อมูลวารสารชื่อ Annual Reviews
Annual Reviews คืออะไร? เข้าใช้ Annual Reviews ได้อย่างไร? เนื้อหาการบรรยาย Annual Reviews คืออะไร? เข้าใช้ Annual Reviews ได้อย่างไร? ทำไมต้องลงทะเบียนการเข้าใช้ การลงทะเบียน (Register) การสืบค้นข้อมูล การจัดการผลลัพธ์ เนื้อหาที่จะบรรยายประกอบด้วย การทำความรู้จักกับฐานข้อมูล Annual Reviews การใช้งานฐานข้อมูล การสืบค้นข้อมูล และการจัดการผลลัพธ์ต่างๆ ที่ได้จากการสืบค้นข้อมูล
Annual Reviews คืออะไร? Annual Reviews ก่อตั้งในปี 1932 เป็นฐานข้อมูลวารสารที่ครอบคลุม 46 สาขาวิชาแบ่งเป็นด้านหลักๆ 3 ด้าน คือ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ (Biomedical/Life Sciences) 24 สาขาวิชา, วิทยาศาสตร์กายภาพ (Physical Sciences) 13 สาขาวิชา, และ สังคมศาสตร์ (Social Sciences) 8 สาขาวิชา สืบค้นข้อมูลได้ตั้งแต่ ปี 1996 – ปัจจุบัน แต่สามารถดู Full Text ได้ย้อนหลังไป 5 ปี นับจากปีปัจจุบัน (2008 - 2011) ให้บริการสิ่งพิมพ์ประเภทวารสารอิเล็กทรอนิกส์ ลักษณะของข้อมูลที่ให้บริการจะเป็นรูปแบบสาระสังเขป เอกสารฉบับเต็ม html และ PDF ไม่จำกัดจำนวนผู้มีสิทธิ์เข้าใช้งาน Annual Reviews คือฐานข้อมูลวารสารที่ก่อตั้งในปี 1932 เป็นฐานข้อมูลวารสารที่ครอบคลุมถึง 46 สาขาวิชา แบ่งเป็น 3 ด้าน คือวิทยาศาสตร์ชีวภาพ 24 สาขาวิชา, วิทยาศาสตร์กายภาพ 13 สาขาวิชา, และ สังคมศาสตร์ จำนวน 8 สาขาวิชา โดยสามารถสืบค้นข้อมูลได้ตั้งแต่ ปี 1996 ถึงปีปัจจุบัน แต่จะไม่สามารถดู FullText ได้ทั้งหมด สำหรับมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง สามารถดู Full Textได้ย้อนหลังไป 5 ปี นับจากปีปัจจุบัน คือปีนี้คือปี 2011 ก็จะสามารถดู FullText ได้ตั้งแต่ปี 2008 ถึง ปี 2011 ค่ะ
ทำไมต้องใช้ Annual Reviews ฐานข้อมูล Annual Reviews เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการศึกษา และนำไปอ้างอิง เนื่องจากมีผู้ Review เป็นอาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาวิชานั้นๆ จึงมีความน่าเชื่อถือ
การเข้าใช้ หากอยู่ภายนอกมหาวิทยาลัย ให้เชื่อมต่อเครือข่ายผ่าน SSL VPN www.mfu.ac.th/center/lib สืบค้นผ่านหน้าเว็บไซต์ศูนย์บรรณสารฯ โดยมีวิธีเข้าสืบค้นได้ 2 ช่องทางคือ หากอยู่ภายในมหาวิทยาลัยสามารถเข้าสืบค้นได้ทันที หากอยู่ภายนอกมหาวิทยาลัย ให้เชื่อมต่อเครือข่ายผ่าน SSL VPN ทีนี้มาถึงช่องทางการเข้าใช้หรือสืบค้นฐานข้อมูล ฐานข้อมูลนี้ให้บริการผ่านทางเว็บไซต์ของศูนย์บรรณสารฯ ที่ www.mfu.ac.th/center/lib หากอยู่ภายในมหาวิทยาลัยเข้าใช้/อ่านฉบับเต็มได้ทันที แต่หากท่านอยู่ภายนอกมหาวิทยาลัย จำเป็นต้องเชื่อมต่อผ่าน SSL VPN โดยติดตั้งที่เครื่องใช้งานของท่านก่อน โดยใช้รหัสนักศึกษา และรหัสผ่านที่นักศึกษาได้รับตอนเป็นนักศึกษาปี 1 หากมีข้อสงสัย หรือจดจำ username และ pw. ไม่ได้ ให้ติดต่อฝ่ายระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ศูนย์บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ โทร. 053 916397 กรณีที่เป็นบุคลากรของมหาวิทยาลัย ให้ใช้ username และ pw. ที่ใช้กับระบบ E-mail ของมหาวิทยาลัย - สามารถศึกษาวิธีการติดตั้ง SSL VPN ได้ที่หน้าเว็บไซต์ศูนย์บรรณสารฯ เมนู How to connect SSL VPN
เงื่อนไขในการสืบค้นฐานข้อมูล กรณีอยู่ภายนอกมหาวิทยาลัย --> SSL VPN เงื่อนไขในการสืบค้นฐานข้อมูล มี Username/password การใช้ ต้องติดตั้งโปรแกรม SSL VPN ให้เรียบร้อยก่อน สืบค้นข้อมูลผ่านเว็บไซต์ของศูนย์บรรณสารฯ เท่านั้น สืบค้นเฉพาะฐานข้อมูลที่ผ่าน IP มหาวิทยาลัย คือกลุ่ม - ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (E-Resources) เลือก E-Journals กรณีที่อยู่ภายนอกมหาวิทยาลัยนั้น จะต้องเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตผ่าน IP ของมหาวิทยาลัยก่อนโดยการใช้โปรแกรม SSL VPN ซึ่งจะต้องมี username และ password ด้วย จากนั้นก็ทำการติดตั้งโปรแกรมไว้ที่เครื่องที่จะใช้งานก่อน เมื่อติดตั้งเสร็จระบบจะปรากฏสถานการณ์เชื่อมต่อเครือข่ายให้ จากนั้นก็เปิดเว็บไซต์ของศูนย์บรรณสารฯ และเลือกกลุ่มสืบค้น คือ ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ หรือ e-resources เลือก e – journals
แจ้งขอรหัสการใช้ SSL VPN กรณียังไม่เคยแจ้งขอรหัสการเข้าใช้งานนอกเครือข่าย หรือจดจำ username และ password การใช้ไม่ได้ ให้แจ้งหรือติดต่อที่ศูนย์บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ ฝ่ายเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์: 0 5391 6397 อีเมล์: network@mfu.ac.th เมื่อได้รับ username/password แล้ว ให้เข้าไปที่เว็บไซต์ https://secure.mfu.ac.th เพื่อติดตั้งโปรแกรม SSL VPN กรณีที่ยังไม่มีรหัสการใช้งาน หรือจดจำ username และ password การใช้ไม่ได้ ให้แจ้งขอได้ที่ศูนย์บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือศูนย์ไอที สามารถโทรศัพท์ติดต่อที่หมายเลข 053 916397 ในเวลาราชการ หรือจะแจ้งขอทางอีเมล์ที่ network@mfu.ac.th โดยแจ้งชื่อ-นามสกุล รหัสนักศึกษาหรือพนักงาน เมื่อได้รับรหัสการใช้งานแล้ว ก็สามารถเข้าไปเว็บไซต์โดยตรงเพื่อจะติดตั้ง SSL VPN ที่เว็บ https://secure.mfu.ac.th
กรณีอยู่ภายในมหาวิทยาลัย --> สืบค้นได้ที่ ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ www.mfu.ac.th/center/lib ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (e-Resources)หรือไอคอนด้านล่าง (ตามภาพ) สำหรับกรณีที่อยู่ในมหาวิทยาลัยเข้าใช้ได้ทันที จากหน้าเว็บไซต์ของศูนย์บรรณสารฯ โดยเลือกเมนูทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (e-resources) หรือจะเลือกจากกลุ่มไอคอน online databases ก็ได้ แต่ในที่นี้ขอยกตัวอย่างเลือกจากเมนูทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (e-resources)
คลิกเลือกที่ชื่อฐานข้อมูล Annual Reviews ดังภาพ ตัวอย่างการเข้าใช้ Annual Reviews จากหน้า e - Journals จากนั้นคลิกเลือกฐานข้อมูล Annual Reviews เพื่อเข้าสู่หน้าแรกของการใช้งาน
ทำไมต้องลงทะเบียนการเข้าใช้? การใช้ฐานข้อมูล ผู้ใช้สามารถเข้าใช้ฐานข้อมูลได้เลยทันที โดยไม่จำเป็นต้องลงทะเบียน ถ้าใช้ผ่านระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย แต่การลงทะเบียนก็จะทำให้ผู้ใช้สามารถใช้บริการเสริมอื่นๆ ของฐานข้อมูลได้ เช่น การใช้ save search การใช้ E-mail Alerts การใช้โปรแกรมจัดทำบรรณานุกรมต่างๆ เช่น Endnote ฯลฯ โดยปกติผู้ใช้ฐานข้อมูล ไม่จำเป็นต้องลงทะเบียนถ้าใช้ผ่านระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง แต่การลงทะเบียนจะทำให้ผู้ใช้สามารถใช้บริการเสริมอื่นๆ ของฐานข้อมูลได้ เช่น การใช้ save, search, E-mail Alerts, การใช้โปรแกรมจัดทำบรรณานุกรมต่างๆ
การลงทะเบียน (Register)
การลงทะเบียน (Register) (ต่อ) ข้อควรระวังคือ หัวข้อที่มี * สีแดงหมายถึงต้องกรอกข้อมูลในช่องนั้นให้ครบถ้วน หากไม่ใส่จะไม่สามารถลงทะเบียนได้ และการตั้งรหัสผ่านต้องใช้อักษร 8 ตัวขึ้นไป ซึ่งควรประกอบไปด้วยตัวเลขและตัวอักษร และ อักขระพิเศษเช่น @<> เป็นต้น เพื่อความปลอดภัยของผู้ใช้เอง จากนั้นให้กรอกข้อมูลส่วนตัวลงในแบบฟอร์มแล้วทำการ Register ข้อควรระวังคือ หัวข้อที่มี * สีแดงหมายถึงต้องกรอกข้อมูลในช่องนั้นให้ครบถ้วน หากไม่ใส่จะไม่สามารถลงทะเบียนได้ และการตั้งรหัสผ่านต้องใช้อักษร 8 ตัวขึ้นไป ซึ่งควรประกอบไปด้วยตัวเลขและตัวอักษร และ อักขระพิเศษเช่น @<> เป็นต้น เพื่อความปลอดภัยของผู้ใช้เอง
หลังจากทำการลงทะเบียนแล้ว ระบบจะทำการยืนยันข้อมูลการสมัครไปยังอีเมล์ของผู้สมัคร ว่าได้ทำการลงทะเบียนที่สมบูรณ์แบบ สามารถเข้าใช้ฐานข้อมูลได้ หลังจากทำการลงทะเบียนแล้ว ระบบจะทำการยืนยันข้อมูลการสมัครไปยังอีเมล์ของผู้สมัคร ว่าได้ทำการลงทะเบียนที่สมบูรณ์แบบ และสามารถเข้าใช้ฐานข้อมูลได้
Login เข้าระบบ เมื่อเข้าสู่หน้าจอการใช้ฐานข้อมูล ให้ทำการ login ตาม Username & Password ที่ได้รับ
กรอกอีเมล์และรหัสผ่านที่ได้ใส่ข้อมูลไว้ แล้วทำการคลิกที่ปุ่ม Login เพื่อทำการเข้าสู่ระบบ 1 2 3 ให้ทำการเข้าระบบโดยกรอกอีเมล์และรหัสผ่านที่ได้ใส่ข้อมูลไว้ แล้วทำการคลิกที่ปุ่ม Login เพื่อทำการเข้าสู่ระบบ
1 2 เมื่อเข้าระบบแล้วสังเกตว่าด้านบนของหน้าฐานข้อมูลจะปรากฏเป็นชื่อของผู้ลงทะเบียน และผู้ใช้สามารถเข้าไปแก้ไขข้อมูลส่วนตัวและข้อมูลเกี่ยวกับการตั้งค่าการเตือน และการบันทึกการค้นหาได้ที่หน้า My account เมื่อเข้าระบบแล้วสังเกตว่าด้านบนของหน้าฐานข้อมูลจะปรากฏเป็นชื่อของผู้ลงทะเบียน และผู้ใช้สามารถเข้าไปแก้ไขข้อมูลส่วนตัวและข้อมูลเกี่ยวกับการตั้งค่าการเตือน และการบันทึกการค้นหาได้ที่หน้า My account
1. FAVORITE & SUBSCRIBED JOURNALS คือ การจัดเก็บวารสารที่ชอบ เมื่อเข้าไปในเมนู Account จะปรากฏเมนูสำหรับจัดการข้อมูลส่วนตัวดังนี้คือ 1. FAVORITE & SUBSCRIBED JOURNALS คือ การจัดเก็บวารสารที่ชอบ 2. FAVORITE & SUBSCRIBED ARTICLES คือ การจัดเก็บบทความที่ชอบ 3. RECOMMENDED ARTICLES คือ การแนะนำบทความที่ควรอ่าน โดยระบบจะทำการสุ่มเลือกให้จากข้อมูลการสมัครที่สมาชิกกรอกไว้ว่าสนใจข้อมูลในด้านไหนในตอนแรกที่สมัคร 4. PERSONAL ACCESS คือ การเปิดใช้งานและเข้าถึงข้อมูลออนไลน์หากสมาชิกมีรหัสสำหรับเข้าสู่บทความหรือวารสารนั้นๆ 5. ACCOUNT INFO คือ ข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก สามารถเข้าไปแก้ไขและเปลี่ยนแปลงข้อมูลได้ 6. ALERTS คือ การตั้งค่าการแจ้งเตือนต่างๆ จากบทความ วารสาร และ อีเมล์ 7. SITE EDITING คือ การจัดเก็บวารสารที่ชอบ เมื่อเข้าไปในเมนู Account จะปรากฏเมนูสำหรับจัดการข้อมูลส่วนตัวดังนี้คือ 1. FAVORITE & SUBSCRIBED JOURNALS คือ การจัดเก็บวารสารที่ชอบ 2. FAVORITE & SUBSCRIBED ARTICLES คือ การจัดเก็บบทความที่ชอบ 3. RECOMMENDED ARTICLES คือ การแนะนำบทความที่ควรอ่าน โดยระบบจะทำการสุ่มเลือกให้จากข้อมูลการสมัครที่สมาชิกกรอกไว้ว่าสนใจข้อมูลในด้านไหนในตอนแรกที่สมัคร 4. PERSONAL ACCESS คือ การเปิดใช้งานและเข้าถึงข้อมูลออนไลน์หากสมาชิกมีรหัสสำหรับเข้าสู่บทความหรือวารสารนั้นๆ 5. ACCOUNT INFO คือ ข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก สามารถเข้าไปแก้ไขและเปลี่ยนแปลงข้อมูลได้ 6. ALERTS คือ การตั้งค่าการแจ้งเตือนต่างๆ จากบทความ วารสาร และ อีเมล์ 7. SITE EDITING คือ การจัดเก็บวารสารที่ชอบ
ตัวอย่างหน้า Alerts ตัวอย่างหน้า Alerts เป็นการส่งข้อมูลตาม subject หรือหัวข้อที่เราต้องการข้อมูล ส่งทาง E-mail
การสืบค้นข้อมูล การสืบค้นข้อมูลใน Annual Reviews แบ่งออกเป็นรูปแบบใหญ่ๆ ดังนี้ แบบ Search เป็นการค้นหาบทความจากคำสำคัญ หัวเรื่อง ชื่อเรื่อง ผู้แต่ง ชื่อวารสาร เป็นต้น แบบ Browse Search เป็นการสืบค้นตาม 3 สาขาวิชาหลัก และสาขาวิชาย่อย ในส่วนของการสืบค้นข้อมูล การสืบค้นข้อมูลของฐานข้อมูลนี้ จะแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบใหญ่ๆ ดังนี้ แบบ Search เป็นการค้นหาบทความจากคำสำคัญ หัวเรื่อง ชื่อเรื่อง ผู้แต่ง ชื่อวารสาร เป็นต้น แบบ Browse Search เป็นการสืบค้นตาม 3 สาขาวิชาหลัก และสาขาวิชาย่อย
1 2 3 ซึ่งจากหน้าแรกจะปรากฏเป็นสามส่วนใหญ่ๆ สำหรับสืบค้นข้อมูลวารสาร หมายเลข 1 และ 2 : เป็นการสืบค้นแบบ Search จะมีแบบ Basic search และ Advanced หมายเลข 3 : เป็นการสืบค้นแบบ Browse search
การสืบค้นแบบ Basic Search 1 2 3 4 1. ช่องสำหรับใส่คำสืบค้น 2. ชื่อผู้แต่ง 3. ระบุชื่อวารสารเพื่อการสืบค้น 4. เมื่อกรอกข้อมูลครบแล้วกดที่ปุ่ม search เพื่อทำการสืบค้น การสืบค้นแบบ Basic Search ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้ 1 ช่องสำหรับใส่คำสืบค้น 2.ชื่อผู้แต่ง 3.ระบุชื่อวารสารเพื่อการสืบค้น 4.เมื่อกรอกข้อมูลครบแล้วกดที่ปุ่ม search เพื่อทำการสืบค้น
3 1 4 5 7 6 8 2 จากตัวอย่าง สืบค้นด้วยคำว่า children homeless จะแสดงหน้าผลลัพธ์ปรากฏดังนี้ Search criteria เป็นเมนูสำหรับการสืบค้น ซึ่งจะเป็นเมนูเดียวกันกับ Advanced search Refine your search เป็นการค้นหาเพิ่มเติมจากผลลัพธ์ที่สืบค้นได้ โดยมีสามส่วนด้วยกันคือ จากชื่อผู้แต่ง คำสำคัญ และชื่อวารสาร โดยแต่ละชื่อผู้แต่ง คำสำคัญ และชื่อวารสาร จะมีตัวเลขในวงเล็บแสดงถึงรายการบทความที่มีความเกี่ยวข้องกับชื่อผู้แต่ง คำสำคัญ หรือชื่อวารสารนั้นๆ Sort by คือการจัดเรียงผลลัพธ์ที่ได้ตามความใกล้เคียงของข้อมูล บทความที่ใหม่ไปยังบทความเก่า บทความที่ถูกนำไปอ้างอิงมากที่สุดไปหาน้อยสุด หรือบทความที่ถูกดาวน์โหลดมากที่สุดไปหาน้อยสุด แสดงจำนวนผลลัพธ์ที่ได้ และเชื่อมโยงไปยังหน้าถัดไปของหน้าแสดงผลลัพธ์ การกำหนดจำนวนบทความที่แสดงใน 1 หน้า กล่องให้คลิกเลือกหรือไม่เลือกบทความทั้งหมดที่ปรากฏ การแสดงข้อมูลของผลลัพธ์ในหน้าแรกนี้ว่าให้แสดงข้อมูลอะไรบ้าง ข้อมูลของผลลัพธ์ที่แสดง
ผลลัพธ์ที่แสดง ก็ประกอบไปด้วยส่วนต่างๆ ดังต่อไปนี้ ชื่อบทความ 1 2 4 3 ผลลัพธ์ที่แสดง ก็ประกอบไปด้วยส่วนต่างๆ ดังต่อไปนี้ ชื่อบทความ ชื่อผู้เขียนบทความ หรือชื่อผู้ทำการรีวิวบทความ ชื่อวารสาร ปีที่ ฉบับที่ และหน้า บทความนี้ให้เอกสารฉบับเต็มหรือไม่ เช่น PDF หรือ HTML ในส่วนการแสดงผลลัพธ์ ประกอบไปด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้ ชื่อบทความ ชื่อผู้เขียนบทความ หรือชื่อผู้ทำการรีวิวบทความ ชื่อวารสาร ปีที่ ฉบับที่ และหน้า บทความนี้ให้เอกสารฉบับเต็มหรือไม่ ถ้าให้ ให้ในรูปแบบใดบ้าง เช่น PDF หรือ HTML
2 1 3 4 5 6 9 7 8 10 การสืบค้น กรณีได้เลือกบทความชื่อ “The New Homesless Revisted” จะปรากฏหน้าบทคัดย่อของบทความขึ้นมา ให้เราดูในเบื้องต้นก่อน ซึ่งประกอบไปด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้ ชื่อของวารสาร ปีที่ ฉบับที่ของวารสาร ประเภทของข้อมูลที่ปรากฏ ชื่อบทความ ชื่อผู้วิจารณ์บทความ ข้อมูลเกี่ยวกับผู้วิจารณ์บทความว่าเป็นใคร ทำงานอยู่ที่ไหน รวมถึงมีการให้ที่อยู่ที่ทำงาน เบอร์โทร และอีเมล์สำหรับผู้วิจารณ์บางท่านด้วย สำหรับให้ดูข้อมูลฉบับเต็ม และการนำไปอ้างอิง และการทำรายการเตือนต่างๆ เนื้อหาของบทความ โดยมีจุดสังเกตว่ามีการไฮไลท์ในบางจุดของคำเป็นสีฟ้า ซึ่งเป็นการแสดงให้เห็นว่าคำที่เราใช้ในการค้นหาในครั้งแรกนั้นปรากฏตรงจุดใดบ้างของบทความในเบื้องต้น เป็นการให้ข้อมูลเพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับบทความนี้ การค้นหาเพิ่มเติมจากข้อมูลที่บทความนี้ให้มา ไม่ว่าจะเป็นชื่อผู้แต่ง และคำสำคัญ ซึ่งหากเราดูบทความแล้วเห็นว่าน่าสนใจ ตรงกับความต้องการ ก็สามารถดาวน์โหลด PDF ไฟล์ เพื่อไว้ดูในเครื่องหรือดูแบบ HTML ก็ได้
การแสดงผลแบบ Full-Text HTML 1 4 2 3 หากต้องการดู FULL-TEXT แบบ HTML เราจะได้ผลลัพธ์ดังหน้าจอที่ปรากฏนี้ โดยจะมีส่วนสำคัญๆ ดังนี้คือ ชื่อบทความ รายละเอียดของบทความ เนื้อหาของบทความ ข้อมูลที่สัมพันธ์กับบทความ อันประกอบไปด้วย รูปภาพ แหล่งข้อมูลอ้างอิง รายชื่อบทความแนะนำ และคำค้นที่ปรากฏจากบทความนี้
ตัวอย่างรูปภาพที่อ้างอิงในบทความ ซึ่งจะสามารถดูรูปขนาดใหญ่ และมีคำอธิบายเกี่ยวกับรูปให้ด้วย
ชี้แหล่งข้อมูลที่ปรากฏบทความฉบับเต็มของบทความที่นำมาอ้างอิง ส่วนของข้อมูลอ้างอิง จะมีบรรณานุกรมของบทความที่ถูกนำมาอ้างอิงในบทความนี้ แต่มีข้อพิเศษ คือมีการเชื่อมโยงข้อมูลไว้ใต้บรรณานุกรมแต่ละรายการสำหรับให้สามารถเข้าไปดูบทความฉบับเต็มได้ ***ข้อจำกัดของการดูบทความฉบับเต็ม คือ บทความที่เชื่อมโยงไปนั้นต้องเป็นฐานข้อมูลที่ให้ข้อมูลฟรี หรือเป็นฐานข้อมูลที่ห้องสมุดบอกรับ หากไม่ได้บอกรับก็จะไม่สามารถดูบทความฉบับเต็มได้ นอกจากนี้ยังมีจุดพิเศษคือ ด้านหน้าบรรณานุกรมที่เป็นกล่องมีรูปบวก เมื่อกดเข้าไปจะปรากฏข้อความที่สามารถเชื่อมโยงไปยังเนื้อหา ว่าอ้างอิงตรงส่วนใดของเนื้อหาบ้าง และหากเป็นกล่องสีส้ม นอกจากจะสามารถลิ้งไปยังเนื้อหาแล้ว ยังปรากฏบทความที่นำบรรณานุกรมบทความนั้นๆไปอ้างอิง พร้อมมีลิ้งให้ไปดูบทความฉบับเต็มด้วยเช่นกัน
สามารถกดคำที่ไฮไลท์ เพื่อดูรายการที่เชื่อมโยงยังเนื้อหานั้นๆ
ทำการดาวน์โหลดไฟล์แบบPDF
มี Link ข้อมูล เพื่อดูเอกสารแบบ HTML ไฟล์ PDF มีจุดเด่นคือ ได้มีการทำ Link เพื่อให้ดูแบบ HTML มี Link ข้อมูล เพื่อดูเอกสารแบบ HTML
กดที่ปุ่มนี้เพื่อรับข้อมูลข่าว (Feed) สำหรับผู้ใช้ที่ต้องการรับความเคลื่อนไหวต่างๆ เกี่ยวกับบทความนี้ สามารถกดที่ปุ่มสีส้มดังรูป
1 2 การรับข่าวสาร จะปรากฏหน้าจอดังรูป ให้กดที่ปุ่ม”บอกรับเดี๋ยวนี้” และจะมีป๊อปอัพขึ้นมา ให้กด “บอกรับ” โดยระบบจะส่งข่าวสารในเรื่องที่ต้องการผ่านทางระบบ E-mail ที่ได้ register ไว้
การใช้ฟังชั่น Add to Favorites วิธีการคือ ให้กดไปที่ปุ่ม “Add to Favorites” บทความนั้นก็จะเข้าไปอยู่ใน Folder ของเราทันที การใช้ฟังชั่นนี้ ต้องทำการลงทะเบียน หรือ log in ระบบก่อน
บทความที่เลือกไว้ก็จะไปอยู่ในเมนู Favorite & Subscribed articles ดังรูป
การใช้ Email to a friend ระบบจะทำการส่งบทความนี้ให้กับเพื่อนได้ที่ “Email to a friend” แต่ไม่สามารถทำการส่งข้อความฉบับเต็มให้ได้ จะเป็นการส่ง Link รายละเอียดทางบรรณานุกรมของบทความให้เท่านั้น
เมื่อกดเข้าไปที่ “Email to a friend” จะปรากฏหน้าจอดังตัวอย่าง ผู้ใช้ต้องกรอกรายระเอียดให้ครบถ้วน แล้วทำการส่งโดยกดปุ่ม “SUBMIT” เมื่อกดไปแล้วจะปรากฏหน้าจอป๊อบอัพขึ้นว่า “Thank you! Your email has been sent with links to the following article(s)” เป็นอันว่าส่งสำเร็จ
The Journal of Investigative Dermatology คืออะไร? ในส่วนหน้าจอของผู้รับอีเมล์ ข้อความจะเป็นในลักษณะเช่นนี้
การใช้ฟังชั่น SHARE กดที่ SHARE การใช้ฟังชั่น SHARE เป็นการแบ่งปันบทความนี้ไปยังสังคมออนไลน์ต่างๆ ซึ่งมีให้เลือกถึง 300 กว่าเวบไซต์ที่เปิดให้บริการสังคมออนไลน์ เช่น Facebook Twitter Myspace เป็นต้น
การสืบค้นแบบ Advance search ในส่วนการสืบค้นแบบ Advanced search
เมื่อเข้าไปแล้วจะปรากฏหน้าจอตามรูปตัวอย่างใน powerpoint
1 1. Journal content ใช้สำหรับสืบค้นเนื้อหาของวารสาร ประกอบไปด้วย บทคัดย่อ ชื่อบทความ ชื่อผู้แต่ง ชื่อผู้แต่งที่อ้างถึง บทความฉบับเต็ม คำสำคัญ หรือคำบรรยายภาพ ซึ่งสามารถ เลือกได้จากรายชื่อวารสารทั้งหมด หรือเลือกเฉพาะบางรายชื่อได้
สำหรับคีย์คำที่ต้องการสืบค้น 2 2.Search for สำหรับคีย์คำที่ต้องการสืบค้นในช่องนี้
การสืบค้นจากชื่อวารสาร 3 3. Select A Journal : การสืบค้นจากชื่อวารสาร ปีที่ และเล่มที่ของวารสาร รวมถึง หมายเลข DOI (เลขของวารสารออนไลน์)
การสืบค้นแบบ BROWSE SEARCH เอกสารประกอบบทความ และเอกสารที่รวบรวมไว้เป็นพิเศษ 1 คำอธิบายเกี่ยวกับสัญลักษณ์หน้าชื่อวารสาร 2 รายชื่อวารสารแยกตามศาสตร์ 3 สืบค้นแบบ BROWSE SEARCH ซึ่งให้ข้อมูล สามส่วน คือ Supplemental Materials : เอกสารประกอบบทความ และเอกสารที่รวบรวมไว้เป็นพิเศษ Access คำอธิบายเกี่ยวกับสัญลักษณ์หน้าชื่อวารสาร รายชื่อวารสารแยกตามศาสตร์
สามารถเข้าดูบทความฉบับเต็มได้ตั้งแต่ฉบับแรกของวารสารฉบับนั้น 1 สามารถดูได้บทความฉบับเต็มได้เฉพาะวารสารฉบับใหม่ หรือบางฉบับเท่านั้น 2 ไม่สามารถดูเอกสารฉบับเต็มได้ ดูได้แต่บทคัดย่อเท่านั้น 3 ในส่วนของคำอธิบายสัญลักษณ์มีความหมายในสัญลักษณ์ต่างๆ ดังนี้ หมายเลข 1 : หมายถึง สามารถเข้าดูบทความฉบับเต็มได้ตั้งแต่ฉบับแรกของชื่อวารสารนั้น หมายเลข 2 : หมายถึง สามารถดูบทความฉบับเต็มได้เฉพาะฉบับใหม่ หรือบางฉบับเท่านั้น หมายเลข 3 : หมายถึง ไม่สามารถดูเอกสารฉบับเต็มได้ ดูได้แต่บทคัดย่อเท่านั้น
กการ Browse หัวเรื่องที่ต้องการตามศาสตร์ หน้าจอของ BROWSE SEARCH ตามศาสตร์ ผู้ใช้ต้องการศึกษาข้อมูลด้านใด สามารถคลิกเข้าไปตามชื่อ / หัวเรื่องนั้นๆ ได้เลย
การแสดงผลลัพธ์ ตัวอย่าง เข้าไปที่ “Biochemistry” จะได้ผลลัพธ์ดังรูป ซึ่งการแสดงผลลัพธ์ที่ได้ก็จะคล้ายกับผลลัพธ์จาก Basic search แต่ผลลัพธ์โดยการเลือกจากสาขาวิชาแบบนี้ จะให้ผลลัพธ์ที่เจาะจงกว่าแบบ Basic Search
เมนูเสริม หน้าหลักของวารสารนั้นๆ วารสารที่มาก่อนตัวเล่ม วารสารเล่มล่าสุด เลือกดูบทความ จากปีของวารสาร ดูบทความที่ถูกนำไปอ้างอิงมากที่สุดจากวารสารฉบับนี้ ดูบทความที่ถูกดาวน์โหลดไปมากที่สุดจากวารสารฉบับนี้ ในด้านซ้ายก็จะมีเมนูที่แตกต่างขึ้นมาและมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ JOURNAL HOME คือ หน้าหลักของวารสารนั้นๆ FORTHCOMING คือ วารสารที่มาก่อนตัวเล่ม LATEST VOLUME คือ วารสารเล่มล่าสุด VOLUME SELECTOR คือ เลือกดูบทความ โดยเลือกดูจากปีของวารสารฉบับนี้ MOST CITED REVIEWS คือ ดูบทความที่ถูกนำไปอ้างอิงมากที่สุดจากวารสารฉบับนี้ MOST DOWNLOADED REVIEWS คือ ดูบทความที่ถูกดาวน์โหลดไปมากที่สุดจากวารสารฉบับนี้ JOURNAL ERRATA คือ การแก้ไขคำผิดในบทความนั้นๆ ว่าปรากฏที่ไหนบ้าง และ ทำการแก้ไขเป็นอะไร สามารถดูได้ทั้งต้นฉบับ และดูในรูปแบบที่แก้ไขแล้วได้ CURRENT EDITORIAL COMMITTEE คือ ดูข้อมูลบุคลากร หรือาจารย์ที่ได้ทำการวิจารณ์บทความในวารสารฉบับนี้ การแก้ไขคำผิดในบทความนั้นๆ ดูข้อมูลผู้ที่ได้ทำการวิจารณ์บทความในวารสารฉบับนี้
หากต้องการคำแนะนำการสืบค้นเพิ่มเติม โปรดติดต่อ บรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้า e-mail: library@mfu.ac.th Tel. 0 5391 6339, 0 5391 6345 หากผู้ใช้ หรือนักศึกษาท่านใดสนใจหรือมีคำถาม ต้องการคำแนะนำเพิ่มเติม สามารถติดต่อบรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้าได้ ตามที่อยู่และเบอร์โทร.ใน powerpoint 49