โครงการธรรมชาติเกื้อกูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีใหม่.
Advertisements

การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
โครงการรณรงค์การจัดการสิ่งแวดล้อม
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
กลุ่มพัฒนางานรุ่นที่ 7-10 ศูนย์รักษาความปลอดภัยและจัดการจราจรแห่งจุฬาฯ
ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
โครงการพัฒนาฝ่าย/ศูนย์ ในสังกัดสถาบันวิจัยและพัฒนา ณ อาคารสุวรรณวาจกกสิกิจ ด้วยกิจกรรม 5 ส โดย นาง พจนันท์ ร่มสนธิ์ (เลขานุการสถาบันวิจัยและพัฒนา)
10วิธีลดภาวะโลกร้อน จัดทำโดย
Global Warming.
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
เจ้าหน้าที่ฝ่ายประชาสัมพันธ์
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
ศูนย์รักษาความปลอดภัยและการจัดจราจรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หอพักนิสิต สำนักบริหารงานกิจการนิสิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การประชุม Mahidol Eco University (การบริหารจัดการขยะ) ครั้งที่ 5
การประชุม Mahidol Eco University (การบริหารจัดการขยะ) ครั้งที่ 7
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่
ธนาคารขยะ (Waste Bank).
การจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม
หมู่ 6 ตำบลแก่งโสภา อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
เรื่องคลอรีนในน้ำบรรจุขวด
การเตรียมตัวศึกษาดูงานประเทศไต้หวัน
เป้าประสงค์ 1 เพื่อให้ภาคสาธารณสุข ตระหนักถึงปัญหา และ ร่วมมือในการลด GHG (green house gas) 2 ส่งเสริมให้ภาคสาธารณสุขแสดงจิตสาธารณะ ในการร่วมลดโลกร้อนด้วยการลดการปลดปล่อย.
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
โครงงานเปียงหลวงร่วมใจ ห่วงใยสิ่งแวดล้อม
การเตรียมชุมชน ก่อนพ่นสารเคมี
G Garbage.
- เช้านั่งรับประทาน อาหารได้ถึงเวลา ๘. ๐๐ น. หลังจากนั้น เป็นช่วงเวลาทำความ สะอาด - กลางวัน ประถมและ มัธยมใช้ได้ตั้งแต่เวลา ๑๑. ๓๐ ถึง ๑๒. ๑๕ น.
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่
ปุ๋ยชีวภาพ Organicfertilizer
โครงงานต่อยอดเทคโนโลยีที่สืบค้นจากเอกสารสิทธิบัตรระดับนานาชาติ
ตรวจพื้นที่ 5ส. ฝั่งคลินิคประกันสังคม
การปลูกพืชกลับหัว.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหาร จัดการศูนย์บริการฯ  คัดเลือกคณะกรรมการบริหารศูนย์บริการฯ  คัดเลือกที่ทำการศูนย์บริการฯ  แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบของ คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
หยุดโลกร้อนด้วยชีวิตพอเพียง
ในภาวะน้ำท่วมและหลังน้ำลด
การจัดการองค์ความรู้ (KM) การทำนาข้าวโดยไม่เผาตอซัง
************************************************
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
พี่น้องปุ๋ยหมักโบกาชิ
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
1.ใช้ถ่านไฟฉายที่สามารถบรรจุไฟได้ใหม่
การกำจัดขยะโดยใช้หลัก 3R
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
ป่าสนบ้านวัดจันทร์ เชียงใหม่ - ป่าของรัฐ 3 % - ป่าเอกชน 97 % OGUNI (KUMAMOTO, KYUSHU, JAPAN รัฐ งบประมาณ 40 % สนับสนุน ประชากร 10,000 คน พื้นที่ป่า 75.
การลดปัญหาขยะในบริเวณโรงเรียนและการส่งเสริมการลดภาวะโลกร้อน จัดทำโดย นายปรีชา สลางสิงห์ นางสาวฐิติมา ขุมเงิน นางสาวกกมลทิพย์ วรโยธา โรงเรียนคำสร้อยพิทยาสรรค์
ความหมายและความสำคัญเกษตรทฤษฎีใหม่
การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
กิจกรรมลดปริมาณขยะก่อนทิ้งในวิทยาลัย
สื่อการเรียนรู้เรื่อง หยุดโลกร้อนด้วยความพอเพียง
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
เครื่องมือ-วัสดุอุปกรณ์
COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT
มารู้จัก “ขยะมูลฝอย” กันเถอะ
ประเภทโครงการหรือกิจกรรม ลำดับที่ ๘ โรงงานถลุงหรือหลอมเหล็ก
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
5. การทาบกิ่ง แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ
พระบิดาแห่งการพัฒนาพลังงานไทย
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
กระบวนการจัดการมูลฝอย การฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล
โครงงานเศรษฐศาสตร์ เรื่อง ธนาคารขยะ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการธรรมชาติเกื้อกูล

จัดทำโดยกลุ่ม “ ก้าวใหม่รีไซเคิล “ ที่ปรึกษาด้านเทคนิค ผศ. พญ จัดทำโดยกลุ่ม “ ก้าวใหม่รีไซเคิล “ ที่ปรึกษาด้านเทคนิค ผศ.พญ.ยุวรีย์ พิชิตโชค ที่ปรึกษาโครงการ นางเยาวดี ฟ้าสว่าง ที่ปรึกษากลุ่ม นางพรรณี สระสม ผู้รับผิดชอบโครงการ 1. นายอนันต์ มากน้อยแถม 8. นายสุเทพ วังวารี 2. นายน้อย ดิษวงค์ 9. นายวิชัย แก้วกัลยา 3. นายสมภพ เสวกพันธ์ 10.นายพรศักดิ์ เย็นอ่อน 4. นายโปรย ตามสอน 11.นายทักษิณ ธานสุวรรณ 5. นายวิชา เพียรทรัพย์ 12.นายธงชัย โพธิ์ชะออน 6. นายยุทธพงศ์ อุปถัมภ์ 13.นายชัยภัทร จันทินมาธร 7. นายยงยุทธ์ นาคเกตุ 14.น.ส.ดวงนภา เล็กลาด 15.นายหลอม คลังเพ็ชร

หลักการและเหตุผล ในมหาวิทยาลัยมีต้นไม้ สนามหญ้าและขยะจำนวนมาก ซึ่งต้องมีการตัดแต่งกิ่งไม้ ใบไม้และเศษหญ้า อีกทั้งขยะตามหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อเป็นการลดเวลาในการทำงานและประหยัดในเรื่องการขนทิ้ง จึงนำสิ่งของเหล่านี้มาทำให้เกิดประโยชน์มากที่สุด ส่วนขยะให้มีการคัดแยก แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือขยะรีไซเคิล และขยะทั่วไป มีสถานที่ซื้อขายแน่นอน เป็นการเพิ่มพูนรายได้ให้เหลือไว้เฉพาะส่วนที่มีประโยชน์น้อยที่สุด ที่ต้องนำทิ้ง จึงจำเป็นจะต้องนำเสนอจัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อเป็นการต่อยอดโครงการเดิม เพื่อให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

วัตถุประสงค์ของโครงการธรรมชาติเกื้อกูล 1. เพื่อเป็นการลดการสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติ และนำกลับมาใช้ใหม่ 2. เพื่อเป็นการลดปริมาณขยะ ที่จะต้องนำทิ้งในแต่ละวัน 3. เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย ความสะอาด มีวินัย นำมา ซึ่งชื่อเสียงของมหาวิทยาลัย

ขอบเขตของโครงการ 1. อาคารเรียนส่วนกลาง 2. อาคารเปรมบุรฉัตร ฯ 3. อาคารจุฬาพัฒน์ฯ 4. อาคารประชาธิปก – รำไพพรรณี 5. อาคารจามจุรี 9 6. อาคารสถาบัน 3 7. อาคารมหิตลาธิเบศร

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ *** พื้นที่ในมหาวิทยาลัยมีความสะอาดเรียบร้อย *** มหาวิทยาลัยและหน่วยงานต่าง ๆ ได้รับความรู้ เผยแพร่และ นำมาใช้ประโยชน์ได้

ขยายพื้นที่จัดทำโครงการ อาคารจามจุรี 9 อาคารพินิตประชานาถ

ขยายพื้นที่จัดทำโครงการ อาคารจุฬาพัฒน์ ฯ อาคารสถาบัน 3

ขยายพื้นที่จัดทำโครงการ อาคารประชาธิปก-รำไพพรรณี อาคารมหิตลาธิเบศร

สถานที่ในการซื้อขายขยะฝั่งตะวันตก บริเวณหลังอาคารจามจุรี 9 หลังโรงยิมในร่ม

สถานที่ในการซื้อขายขยะฝั่งตะวันตก ใต้อาคารจามจุรี 5 เรือนเพาะชำ

สถานที่ซื้อขายขยะฝั่งตะวันออก หน้าอาคารพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัย โรงอาหารรวมอักษรศาสตร์

สถานที่ซื้อขายขยะฝั่งตะวันออก โรงอาหารรวมคณะวิศวกรรมศาสตร์ อาคารมหิตลาธิเบศร

สถานที่ซื้อขายขยะฝั่งตะวันออก ลานจอดรถตลาดนัดศาลาพระเกี้ยว สถาบัน 3

การคัดแยกประเภทขยะในแต่ละวัน 1. ขยะทั่วไป 1.1 ขยะประเภทใบจามจุรี โดยการคัดแยกนำไปทำใบไม้หมัก 1.2 ขยะประเภทเน่าเสีย เช่น ผัก ผลไม้ คัดแยกนำไปทำปุ๋ยน้ำ หมักชีวภาพ 1.3 ขยะประเภทเศษอาหาร และอื่นๆ นำทิ้งถังคอนเทนเนอร์ 2. ขยะรีไซเคิล เช่น กระดาษ พลาสติก ขวดแก้ว โลหะ อลูมิเนียม สามารถนำกลับไปรีไซเคิลได้ หรือเปลี่ยนมูลค่าเป็นเงินได้

ขยะที่ยังไม่มีการคัดแยกในแต่ละวัน วันละ 8 คิว ต่อวัน

การคัดแยกขยะแต่ละประเภท

ขยะเน่าเสียนำมาดัดแปลงทำน้ำหมักชีวภาพ

แปรสภาพเป็นน้ำหมัก ใช้เวลา 15 วัน แปรสภาพเป็นน้ำหมัก ใช้เวลา 15 วัน

การทำใบไม้หมัก ใบไม้แห้งส่งเข้าโรงหมัก กิ่งไม้สดบดย่อย ก่อนหมัก

การทำปุ๋ยใบไม้หมัก ใบไม้ที่หมักแล้ว เตรียมผสมกับขุยมะพร้าว

เตรียมบรรจุใส่ถุงไว้ใช้งาน

ใบไม้หมักนำไปใช้ปลูกต้นไม้ในมหาวิทยาลัย

ปัญหาและอุปสรรค ขาดความร่วมมือจากหน่วยงานต่าง ๆ ขาดการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง จากหน่วยงานต่างๆ

THE END