Lean กลุ่ม 1 เครือข่ายและเปลี่ยนเรียนรู้วิชาชีพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
Advertisements

การปรับเปลี่ยนการดำเนินการ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล
นายสำเริง นวลปาน ตำแหน่งประธานกรรมการ นายสุเทพ เทพบุรี ตำแหน่งกรรมการ
ชื่อโครงการ : เพิ่มประสิทธิภาพงานซ่อมบำรุง
“ลดระยะเวลาการดำเนินการสวัสดิการเงินกู้เคหะสงเคราะห์ของมหาวิทยาลัย”
 โครงการ การพัฒนาการดำเนินงานจัดสรรทุน CE/RU :
บริการผลการศึกษาทันใจกับ สทป.
โครงการดูแลรักษาและซ่อมบำรุงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (PC)
กลุ่มเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิชาชีพ: กิจการต่างประเทศ
พัฒนาคุณภาพงานและจดทะเบียนตั้งกลุ่ม รุ่นที่ 1 – 6 (ปีที่ 2)
การเพิ่มประสิทธิภาพ การส่งเบิกสวัสดิการรักษาพยาบาล
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
สำนักบริหารงานวิรัชกิจ
โครงการเพิ่มช่องทางการรับชำระเงินค่าหอพัก
Database & Informations System
เรื่อง เวลา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
สำนักบริหารยุทธศาสตร์ มีนาคม “ สรุปบทเรียนจากการ เสวนาคุยกันสบายๆ ในรอบ 1 ปี ”
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน รุ่นที่ รุ่นที่ 11 – 14
โครงการพัฒนาระบบรายงานผลทางการเงินเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการโครงการจัตุรัสจามจุรี
โครงการเพิ่มความคล่องตัวในการนำเข้า และกำกับ KPI สำนักงานของผู้บริหาร
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
ฝ่ายบริการจ่าย-รับ ศูนย์วิทยทรัพยากร
ฝ่ายกิจการคณะวุฒยาจารย์ สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบงาน
2.2 สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ.ศ.2554 (ประเภทโครงการใหม่ที่พัฒนาหน่วยงาน)
โปรแกรมสำหรับออกรหัสประเภทกิจกรรม (Activity Type)
โครงการการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการข่าวสาร ในสถานการณ์วิกฤติ ฉุกเฉิน และเร่งด่วน โดยกลุ่ม...โบ X 2.
กลุ่ม Well Being 1 นางศรีนวล รัตนวรรณนุกูล ประธานกลุ่ม
ปรู๊ฟทันใจ โครงการ แผนกลูกค้าสัมพันธ์
ถุงเงิน ถุงทอง.
โครงการการปรับขั้นตอนการรับสมัคร เข้าร่วมโครงการฝึกอบรมสัมมนา
เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด
ชื่อโครงการ : เพิ่มประสิทธิภาพงานสวัสดิการ
โครงการกระบวนการจัดทำสัญญาเพื่อให้ผู้เช่าลงนาม ให้แล้วเสร็จ
โครงการ ถาม-ตอบอัจฉริยะ
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
กระบวนการเพิ่มความพึงพอใจให้กับ Supplier
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน
โครงการ : ลดระยะเวลาเลื่อนขั้นเงินเดือนประจำปี
โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ชุดกระเป๋าปฐมพยาบาลสำหรับนิสิตที่ทำกิจกรรมนอกสถานที่ กลุ่ม Firstaid.
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
ฝ่ายนโยบายและแผน งานงบประมาณ ฝ่ายการคลัง ภาควิชา หน่วยงาน
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
กลุ่มรวมมิตร (กลุ่ม 3) นายณรงค์ คงมั่น สสจ.ขอนแก่น ประธาน
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
หัวข้อที่ 3 การสื่อสารสร้าง ความเข้าใจ. ประเด็นการพิจารณา 1. ช่องทางการสื่อสาร / ระบบการสื่อสาร ระหว่าง - หน่วยงานกับเจ้าภาพ - หน่วยงานกับ กพร. - หน่วยงานกับหน่วยงานอื่นๆ.
การรับรองหลักสูตร การรับรองค่าใช้จ่าย
หลักเกณฑ์การคิดคะแนนประเมินผล
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
กลุ่มที่ 2 Blueprint for Change (BFC). รายชื่อสมาชิกกลุ่มที่ 2 1. นิตยา วงศ์เดอรี ประธาน 2. สมคิด จันทมฤก เลขานุการ 3. สีหเดชา กลิ่น หอมหวล 4. ศิธร ปถม.
Knowledge Management : KM
คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิชาการนำเสนองาน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
การเลื่อนตำแหน่งสายสนับสนุน
ขั้นตอนการจัดทำโครงงาน
พัฒนาการสื่อสารงานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.
บุคลากรสำนักงานพาณิชย์ จังหวัดสิงห์บุรี
การบริหารเงินทดรองจ่ายหมุนเวียนภายในส่วนงาน
สัมมนาบุคลากรสายปฏิบัติการ ประจำปี 2554 วันที่ กันยายน 2554 เวลา – น. ณ สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ ต. บ้านหลวง อ. จอมทอง จ. เชียงใหม่
การเลือกตั้งผู้แทนพนักงานกระทรวงสาธารณสุข ตามหนังสือ สธ ว 152 ลว
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
คำขวัญประจำจังหวัด เหนือสุดในสยาม ชายแดนสามแผ่นดิน ถิ่นวัฒนธรรมล้านนา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Lean กลุ่ม 1 เครือข่ายและเปลี่ยนเรียนรู้วิชาชีพ เครือข่ายบุคคล

การพัฒนาระบบการเตือนเพื่อต่อสัญญาจ้างทัน ภายในระยะเวลาที่กำหนด 2 2

ที่มา/มูลเหตุจูงใจของโครงการ การต่อสัญญาจ้างพนักงานมหาวิทยาลัย จะดำเนินการให้แล้วเสร็จเป็นเวลาอย่างน้อย 3 เดือน ก่อนครบอายุสัญญา การเปลี่ยนรอบระยะเวลาการต่อสัญญา อาจส่งผลกระทบให้เกิดละเลยการต่อสัญญาหรือต่อสัญญาคลาดเคลื่อนออกไป หรือไม่ตรงตามกำหนดเวลาได้

VSM ก่อนทำ Lean การต่อสัญญาจ้างไม่ทันในระยะเวลาที่กำหนดทำให้เจ้าหน้าที่บุคคล ไม่สามารถส่งสัญญาจ้างให้กับมหาวิทยาลัยได้ทันตามกำหนด พนักงานมหาวิทยาลัยได้รับสัญญาจ้างล่าช้า หลังจากสิ้นสุดสัญญาจ้างประมาณ 3 เดือน ซึ่งมีผลทำให้ไม่สามารถใช้สัญญาจ้างในการทำนิติกรรมกับสถาบันทางการเงินได้  

แผนหรือขั้นตอนการดำเนินงาน ระยะเวลาดำเนินการ ระยะเวลาเริ่มต้นวันที่วันที่ 15 มีนาคม 2554 ถึง วันที่ 30 กันยายน 2554 รวม 5 เดือน 15 วัน เดือน ขั้นตอน มี.ค.54 เม.ย.54 พ.ค.54 มิ.ย.54 ก.ค.54 ส.ค.54 ก.ย.54 วางแผน (Plan) ดำเนินการ (Do) ตรวจสอบ (Check) ขยายผล (Act) ทำระบบการเตือน (จัดทำคู่มือการเตือน)

เป้าหมายและตัวชี้วัด ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ ระยะสั้น (Short Term) พนักงานมหาวิทยาลัยยังไม่ได้รับ การต่อสัญญาปฏิบัติงานให้แล้วเสร็จ (วัดผลเมื่อครบ 6 เดือน) ก่อนวันสิ้นสุด สัญญาปฏิบัติงานอย่างน้อย 3 เดือน คิดเป็น 50 % การนำรายงานการเตือน(Query) และระบบการเตือนที่ใช้โปรแกรมสำเร็จรูป (Rainlendar) ในการดำเนินการต่อสัญญาจ้างก่อนครบสัญญาจ้าง 3 เดือน การต่อสัญญาจ้างดำเนินการได้ทันการก่อนสิ้นสุดสัญญาจ้างอย่างครบถ้วน 100% ระยะยาว (Long Term) พนักงานมหาวิทยาลัยได้รับการต่อสัญญา ปฏิบัติงานให้แล้วเสร็จ(วัดผลเมื่อครบ1 ปี) ก่อนวันสิ้นสุดสัญญาปฏิบัติงานอย่างน้อย 3 เดือนคิดเป็น 100 % เพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และลดระยะเวลาในการปฏิบัติงาน

การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา(ก้างปลา) บุคลากร เครื่องมือ อุปกรณ์ ไม่ได้ฝึกเจ้าหน้าที่สำรองไว้ ข้อมูลในระบบไม่Up date HRเก่าลาออก HR ใหม่ขาดความเอาใจใส่ HR ไม่พร้อมรับระบบใหม่ ไม่มีระบบเตือนอัตโนมัติ คอมพิวเตอร์ไม่เหมาะกับการใช้งาน การต่อสัญญาจ้าง ไม่ทันภายในเวลากำหนด การแจ้งกฎ ระเบียบ ควรใช้ช่องทางใดหรือแจ้งทางEmail กฎ ระเบียบ มีการเปลี่ยนแปลงบ่อย ผ่านกรรมการกลั่นกรองหลายชุด การรับรู้กฎ ระเบียบที่เปลี่ยนแปลงล่าช้า พ้นกำหนดวันที่ครบสัญญาจ้าง ระเบียบ กฎ ข้อกำหนด การบริหารจัดการ

สรุปการแก้ไขปรับปรุงที่ได้ดำเนินการ ดำเนินการอบรมให้กับเจ้าหน้าที่บุคคลและผู้ปฏิบัติงานด้านบุคคลเกี่ยวกับ ระบบการเตือนที่เป็นโปรแกรมสำเร็จรูป (Rainlendar) และการเรียกรายงาน การเตือน (Query)ของพนักงานมหาวิทยาลัยที่จะครบกำหนดสัญญาจ้างจาก ระบบ CU-HR

สรุป กระบวนการที่นำมาพัฒนา ใช้เวลาในการต่อสัญญาจ้างโดยทำ รายงานการเตือน(Query) และระบบการเตือนจากโปรแกรม สำเร็จรูป (Rainlendar) เดิม ใช้เวลา 48 วัน 6 ชั่วโมง 10 นาที ขั้นตอน 18 ขั้นตอน ปัจจุบัน สามารถลดได้ 39 วัน 7 ชั่วโมง 10 นาที 17 ขั้นตอน

ผลลัพธ์ตามเครื่องชี้วัดที่กำหนดไว้ VSM (หลังทำ Lean) การดำเนินการต่อสัญญาจ้าง มหาวิทยาลัยได้ดำเนินการคิวรี(Query) ส่งให้หน่วยงานเรื่องการต่อสัญญาปฏิบัติงาน ส่วนงานสามารถนำไปใช้ในการประเมินต่อสัญญาปฏิบัติงานได้ ผลลัพธ์ตามเครื่องชี้วัดที่กำหนดไว้ (เปรียบเทียบรายเดือน หรือ ก่อนและหลังการปรับปรุง) ก่อนการปรับปรุง : ระบบการเตือนและการต่อสัญญาปฏิบัติงานไม่ทันตาม กำหนดระยะเวลาการสิ้นสุดสัญญาปฏิบัติงาน หลังการปรับปรุง : ระบบการเตือนและต่อสัญญาปฏิบัติงานทันตาม กำหนดระยะเวลาการสิ้นสุดสัญญาปฏิบัติงาน

ผู้รับผิดชอบโครงการ 1 ผู้ช่วยอธิการบดี (นายเกรียงศักดิ์ บูรณปัทมะ) ผู้ช่วยอธิการบดี (นายเกรียงศักดิ์ บูรณปัทมะ) ที่ปรึกษาโครงการ 2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญิงยุวรีย์ พิชิตโชค 3 นางสาวกัลยาณี ตันนุกูล ประธานกลุ่ม 4 นางกมลพร ศิระมาด เลขานุการ 5 นางสุทธิวรรณ นาซะ สมาชิก 6 นางสาวนุษรา ปานกรด 7 นางสาวสุกัญญา มั่งดี 8 นางสาวสุวรรณี จิรพงศ์ไผท 9 นายอภิชาต ธรรมนิธา 10 นางสาวพรทิพย์ งามเกตุวิรุฬห์ 11 นางวราภรณ์ เหลืองทวีผล ผู้รับผิดชอบโครงการ

ผู้รับผิดชอบโครงการ 12 นางสาวคณัสวรรณ ทองเปลื้อง สมาชิก 13 นางสาวคณัสวรรณ ทองเปลื้อง สมาชิก 13 นางกุหลาบ เสริมศักดิ์ 14 นางทรงศรี โพธิสวัสดิ์ 15 นางสุชิรา ปัญญาสัตติกุล 16 นางรุ้งนภา ศรีสวัสดิ์ 17 นางมนฤดี ยิ้มเป็นใย 18 นางกฤษณา บุญมา 19 นางศุภวรรณ อนุกูล 20 นางสาวนัสมน อัมพานนท์ 21 นางสุภาพร กานตานนท์ ผู้รับผิดชอบโครงการ

ขอบคุณค่ะ