รายงานการวิจัยในชั้นเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กราบขอบพระคุณ ที่ปรึกษางานวิจัย
Advertisements

กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
รายงานการวิจัยในชั้นเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้
ของงานแนะแนว ระดับประถมศึกษา
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
ง า น วิ จั ย ใ น ชั้ น เ รี ย น ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ค ณิ ต ศ า ส ต ร์
เด็กไทยทำได้ ในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
การศึกษารายกรณี.
วิธีการเขียนรายงานของปัญหาพิเศษ
งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การพัฒนานักเรียนโดยครูและโรงเรียน
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การวิจัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
ใบความรู้ เรื่อง...การทำโครงงาน
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
วิธีวิทยาการวิจัยขั้นสูงทางการศึกษา
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
นางสาวณัฏฐณิชา โพธิ์งาม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน ออกแบบบ้านในฝันน่าอยู่
ตามยุทธศาสตร์การพัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์
นางรสนันท์ มานะสุข ผู้วิจัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
ประชุมประจำเดือนตุลาคม
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นคุณภาพในห้องเรียน
ผู้วิจัย นายธีรภัทร พึ่งเนตร
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
ความคิดเห็นที่มีต่อการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยี ฐานเทคโนโลยี บรรยวัสถ์ สินทรัพย์
01 WINTER ชื่อเรื่องวิจัย การดำเนินงานนิเทศภายในของ โรงเรียนศรีธนาพณิชยการเทคโนโลยี เชียงใหม่ Template ชื่อผู้วิจัย นางศิริรัตน์ ชุมสาย ณ อยุธยา.
ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
ชื่อเรื่อง การศึกษาความสนใจด้านการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางศิริพร.
ผู้วิจัย นางบุปผา แย้มชุติ
ผู้วิจัย นายถนอมศักดิ์ บุญแฟง
ABAT วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ชื่อเรื่องอะไรว่าไป ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
การประกวดแข่งขันผลงานวิจัย และนวัตกรรมสื่อสารสอนทางอาชีวศึกษา
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
----- ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาสื่อการ์ตูนมัลติมีเดียสำหรับการสอนวิชา SPSS ชื่อผู้วิจัย นางเขมิกา ภาคเกษี สังกัดวิทยาลัย.
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
ผู้วิจัย นาง นิภารัตน์ ทองโคตร กลุ่มวิชาพื้นฐาน
สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
จัดทำโดย จรัสศรี ดอนชัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย

คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
โดย นางวัลภา เก่งอักษร
นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
เรื่อง จำนวนผู้เข้าสอบและคะแนน เฉลี่ย o-net ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปี การศึกษา ผู้จัดทำ นางสาวรวีวรรณ กองทอง เลขที่ 29 นางสาวสุนทรีย์ เมืองนก.
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานการวิจัยในชั้นเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ระดับประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2546

เรื่อง...พฤติกรรมการรับประทานผักของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย โดยวิธีการเสริมแรงเชิงบวก

ความเป็นมา จากประสบการณ์ในการสอนวิชาสุขศึกษา และการเป็นครูที่ปรึกษา จากประสบการณ์ในการสอนวิชาสุขศึกษา และการเป็นครูที่ปรึกษา นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งได้ดูแลนักเรียนในการรับประทานอาหาร กลางวันของนักเรียนพบว่า นักเรียนหลายคนไม่ชอบรับประทานผัก ดังนั้นเพื่อต้องการให้นักเรียนได้เปลี่ยนพฤติกรรมมารับประทานผัก ผู้วิจัยจึงได้ทำวิจัยเรื่องนี้ขึ้นมา

วัตถุประสงค์ในงานวิจัย เพื่อให้นักเรียนเห็นประโยชน์ของผักและรับประทานผักมากขึ้น เพื่อจะได้สุขภาพและร่างกายที่แข็งแรง

สมมติฐาน นักเรียนที่ได้รับความรู้เกี่ยวกับคุณค่าและประโยชน์ของผัก เปลี่ยนพฤติกรรมมารับประทานผักมากขึ้น

นักเรียนมีทัศนคติที่ดีในการรับประทานผัก ผลที่คาดว่าจะได้รับ นักเรียนมีทัศนคติที่ดีในการรับประทานผัก นักเรียนรับประทานผักมากขึ้น

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/4 จำนวน 49 คน ขอบเขตการวิจัย กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/4 จำนวน 49 คน

ตัวแปรอิสระ การเสริมแรงเชิงบวก

พฤติกรรมการรับประทานผัก ตัวแปรตาม พฤติกรรมการรับประทานผัก

(ช่วงพักกลางวันของทุกวัน) ระยะเวลา 4 สัปดาห์ (ช่วงพักกลางวันของทุกวัน)

การเสริมแรงทางบวก หมายถึง การเสริมแรงทางบวก หมายถึง การให้ความรู้เกี่ยวกับผัก,ประโยชน์ของผักและการให้แรงจูงใจ นิยามศัพท์ พฤติกรรมการรับประทานผัก หมายถึง การมีทัศนคติที่ดีในการรับประทานผักของนักเรียน

วิธีการดำเนินการวิจัย ขั้นเตรียม * ศึกษาปัญหาของนักเรียน * เตรียมเอกสาร รูปภาพที่เกี่ยว ข้องกับการวิจัย

* นำแบบสอบถามให้ผู้เชี่ยว ชาญตรวจสอบ ขั้นสร้าง * สร้างแบบสอบถาม * นำแบบสอบถามให้ผู้เชี่ยว ชาญตรวจสอบ

ขั้นทดลอง 1. นำแบบสอบถามไปใช้กับกลุ่มเป้าหมาย ( ก่อนได้รับความรู้ ), ( เก็บรวบรวมข้อมูลครั้งที่ 1) 2. ให้ความรู้เกี่ยวกับคุณค่าและประโยชน์ของผักพร้อมกับให้นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจากป้ายนิเทศและทำกิจกรรมที่ครูกำหนดให้ 3. นำแบบสอบถามไปใช้กับกลุ่มเป้าหมาย ( หลังจากได้รับความรู้ ), ( เก็บรวบรวมข้อมูลครั้งที่ 2 )

ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติร้อยละในการวิเคราะห์ข้อมูลโดย ผู้วิจัยได้ให้นักเรียนกลุ่มเป้าหมายทำแบบสอบถาม 2 ครั้ง ( ครั้งที่ 1 ก่อนได้รับความรู้ส่วนครั้ง ที่ 2 หลังจากได้รับความรู้ ) จากนั้นนำข้อมูลมาเปรียบเทียบกัน

ตัวอย่าง แบบสอบถามเรื่อง การรับประทานผัก ตัวอย่าง แบบสอบถามเรื่อง การรับประทานผัก ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย / ให้ตรงกับความเป็นจริงในการรับประทานผักแต่ละชนิดดังต่อไปนี้

ตารางเปรียบเทียบการรับประทานผัก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/4 ก่อนได้รับความรู้

ก่อนได้รับความรู้

แผนภูมิการรับประทานผัก ของนักเรียชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/4 แผนภูมิการรับประทานผัก ของนักเรียชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/4 ก่อนได้รับความรู้ 36.12 33.26 18.57 12.04

ตารางเปรียบเทียบการรับประทานผัก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/4 หลังได้รับความรู้

หลังได้รับความรู้

แผนภูมิการรับประทานผัก ของนักเรียชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/4 แผนภูมิการรับประทานผัก ของนักเรียชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/4 หลังได้รับความรู้ 66.33 20.61 9.39 3.67

ตารางเปรียบเทียบการรับประทานผัก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/4

แผนภูมิพฤติกรรมการรับประทานผัก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/4

* นักเรียนชอบรับประทานผักคิดเป็นร้อยละ 33.26 ผลการวิจัย ก่อนได้รับความรู้ * นักเรียนชอบรับประทานผักคิดเป็นร้อยละ 33.26 * ชอบรับประทานผักปานกลางคิดเป็นร้อยละ 18.57 * ชอบรับประทานผักน้อย คิดเป็นร้อยละ 12.04 * ชอบรับประทานผักน้อย คิดเป็นร้อยละ 12.04

* นักเรียนชอบรับประทานผักคิดเป็นร้อยละ 66.33 หลังได้รับความรู้ * นักเรียนชอบรับประทานผักคิดเป็นร้อยละ 66.33 * ชอบรับประทานผักปานกลางคิดเป็นร้อยละ 20.61 * ชอบรับประทานผักน้อยคิดเป็นร้อยละ 9.39 * ไม่ชอบรับประทานผักคิดเป็นร้อยละ 3.67

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย …ทำให้นักเรียนเห็นคุณค่าและประโยชน์ของผักและหันมารับประทานผักมากขึ้น... ข้อเสนอแนะ การที่นักเรียนรู้จักและเห็นคุณค่าของการรับประทานผักนั้นหากครูจะเป็นผู้ดูแลแต่เพียงฝ่ายเดียวก็ไม่ประสบผลสำเร็จได้จึงควรที่จะได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองทางบ้านด้วยเพื่อ จะได้ช่วยเสริมแรงกระตุ้นให้นักเรียนเห็นคุณประโยชน์ของ การรับประทานอาหารประเภทผักอีกด้วย

ประกาศคุณูปการ งานวิจัยในชั้นเรียนนี้สำเร็จได้ด้วยความกรุณาอย่างสูงจากท่านผู้บริหารโรงเรียน ผู้ช่วยผู้บริการทุกท่าน หัวหน้างานวิชาการระดับประถม และอาจารย์รัชดาวรรณ กระสินธุ์ ที่ได้ให้ความกรุณาให้คำแนะนำช่วยเหลือปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ จนกระทั่ง ผู้วิจัยสามารถดำเนินงานวิจัยจนสำเร็จไปได้ด้วยดี ผู้วิจัยขอ กราบขอบพระคุณท่านเป็นอย่างสูงไว้ ณ ที่นี้ คุณครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา