การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข
Advertisements

วันพุธที่ 21 มีนาคม 2555 เวลา น. ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
สำนักบริหารการจัดสรรกองทุน
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
แนวทางการบริหารงบค่าเสื่อม ปีงบประมาณ 2556
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ทพ.สันติ ศิริวัฒนไพศาล 21 กันยายน 2555
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการดำเนินงานในการคืนสิทธิขั้นพื้นฐาน
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
การเร่งรัดการใช้จ่ายเงินงบประมาณปี 2556 ณ วันที่ 4 มิ.ย. 2556
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ประชุมกรรมการบริหารศูนย์
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
การวิเคราะห์แผนงบลงทุน ปี 2552 และแผนยุทธศาสตร์งบลงทุน ปี
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE ปีงบประมาณ 2555 ชี้แจงงบตามเกณฑ์ศักยภาพบริการ ปฐมภูมิ (On top payment) ปีงบประมาณ 2555.
การบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556
โครงการ "ฟันเทียมพระราชทาน"
นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
“การดำเนินงานเพื่อเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพ ของกระทรวงสาธารณสุข”
การถ่ายโอนภารกิจด้านน้ำบาดาล ให้แก่ อปท.
การจัดทำหรือการอนุมัติ แผนงานหรือโครงการ โดยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
กองทุนสมทบ ค่าบริการการแพทย์แผนไทย
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ค่าบริการแพทย์แผนไทยปีงบ 2556
ทิศทางการจัดสรร งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ประจำปี 2551
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2557 งบกองทุนโรคไตวาย
เงินค่าเสื่อม (A) ภาครัฐ (B) ภาคเอกชน (A1)
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 งบสนับสนุนส่งเสริมการจัดบริการ สำหรับผู้ป่วยจิตเวช.
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE ระเบียบวาระ 3.3 สรุปการ.
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
หลักเกณฑ์การจัดสรร งบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2557
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
กรอบแนวคิด หลักการ กฎหมาย คุ้มครองผู้เสียหายจากบริการ สาธารณสุข เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ เครือข่ายศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพ ภาค ประชาชน มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค.
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2558
M&E M&E by..nuntana Claim Claim.
การส่งต่อนอกเขตบริการ (ลดลงร้อยละ 50)
NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1.
โครงการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข ตามโครงการลงทุนขนาดใหญ่ของภาครัฐ ด้านสาธารณสุข (Mega Project) โครงการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข ตามโครงการลงทุนขนาดใหญ่ของภาครัฐ.
ประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 “เพิ่มประสิทธิภาพหลักประกันสุขภาพไทย” ระหว่างวันที่ ตุลาคม 2555 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารจัดการ Asthma & COPD 1.
แนวทางการจัดสรร งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
แนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่าย เพื่อบริการสาธารณสุข ปี 2551 ปี 2551 เอกสารหมายเลข 1.
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
เกณฑ์การจัดสรร งบค่าบริการการแพทย์แผนไทย ปี 2555
มติ ครม. เมื่อวันที่ 30 ธ.ค. 57 และ เมื่อวันที่ 18 ก.พ.58
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
เรียนรู้ระบบหลักประกันสุขภาพ
การตรวจสภาพถนนไร้ฝุ่น ก่อนคืนค้ำประกันสัญญา
มติคณะอนุกรรมการบริหารงานหลักประกันสุขภาพ จังหวัดปทุมธานี ครั้งที่ 1/2557 วันที่ 15 มกราคม 2557 เรื่อง การบริหารจัดการงบ OP / PP Basic Service จากหน่วยบริหารประจำ.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.
ระบบรายงานการใช้จ่ายงบลงทุน (ค่าเสื่อม)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม เสนอในการประชุมชี้แจงเขต ระหว่างวันที่ 22-23 กันยายน 2555 สำนักบริหารการจัดสรรกองทุน

การออกแบบการบริหารงบค่าเสื่อม ใช้หลักการเดียวกับปีงบประมาณ 2555 ปีงบประมาณ 2556 ใช้หลักการเดียวกับปีงบประมาณ 2555

แนวคิด /หลักการและเหตุผล งบค่าเสื่อม เป็นงบประมาณที่จัดขึ้นเพื่อสนับสนุนให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างเหมาะสม และเกิดประสิทธิภาพในการให้บริการในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่มีคุณภาพ ประชาชนเข้าถึงบริการสุขภาพที่จำเป็นและมีคุณภาพได้อย่างเท่าเทียมกัน

ความหมายของงบค่าเสื่อม เงินกองทุนฯที่ใช้ในการจัดหา ด้วยการ จัดซื้อ จัดจ้าง หรือเช่า เพื่อการทดแทนส่วนขาด และซ่อมบำรุงครุภัณฑ์ สิ่งก่อสร้าง ที่เสื่อมสภาพ หรือถดถอย หรือเสียหายจนไม่สามารถใช้งาน ได้ดังเดิม จากการให้บริการสาธารณสุขแก่ผู้มีสิทธิ ในระบบหลักประกันฯ

กรอบการบริหารเงินค่าเสื่อม ปี2556 (A) ภาครัฐ (B) ภาคเอกชน (A1) ภาครัฐสังกัด สป.สธ. (A2) ตติยภูมิเขต (500 ลบ.) (A3) ภาครัฐนอก สังกัด สป.สธ. หน่วย บริการ (A1.1) ส่วนกลาง(กสธ.) 10% หน่วย บริการ (A1.2) เขต 20% หมายเหตุ 1. เงินตติยภูมิ (A2) เฉพาะเขต 9 และ13 ตัดจากงบของเอกชนมารวมด้วย 2. เงินในข้อ A1.3 ต้องจัดสรรให้หน่วยบริการ ไม่น้อยกว่า 50% (A1.3) จังหวัด/หน่วยบริการ 70% หน่วยบริการ

เกณฑ์การจัดสรร

หน่วยบริการที่สามารถรับงบค่าเสื่อม หน่วยบริการในระบบ UC ทุกสังกัด บริการ OP PP IP บริการ IP รับงบค่าเสื่อมจาก การให้บริการ OP PP IP การให้บริการ OP PP การให้บริการ IP ยกเว้น หน่วยบริการรับส่งต่อเฉพาะโรค บริการ OP PP

วงเงินของค่าเสื่อมจากการบริการ IP หลักการคำนวณเงิน สัดส่วนการแบ่ง ข้อมูลที่ใช้ วงเงินของค่าเสื่อมจากการบริการ OP+PP ประชากร เดือน ตค.55 วงเงินของค่าเสื่อมจากการบริการ IP Sum adj. RW 10 เดือน ของปีงบประมาณที่ผ่านมา สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สปสธ. นำวงเงินรวมมาคำนวณจัดสรรให้หน่วยบริการอีกครั้งตามจำนวนประชากรที่ลงทะเบียนกับหน่วยบริการแต่ละแห่ง

การจัดสรรเงิน ไม่มีการจัดสรรงบค่าเสื่อมให้กับหน่วยบริการ ที่เข้าใหม่ระหว่างปี กรณีที่มีหน่วยบริการลาออก และมีการโอนถ่าย ประชากรกลางปีงบประมาณ ให้สำนักงานฯเขต พิจารณาโอนงบค่าเสื่อมให้กับหน่วยบริการที่รับ ดูแลประชากรจริงตามสัดส่วนที่ให้บริการ

การเรียกคืนงบค่าเสื่อม ปี 49-50 ปี 51-56 เนื่องจากมีการจัดสรรงบลงทุนทดแทนทั่วไป จำนวน 70 % และงบปฐมภูมิ, งบตติยภูมิ อีก 30% ให้กับหน่วยบริการ ดังนั้น การลาออกจากโครงการทุกครั้ง จะมีการคิดค่าเสื่อมในส่วน 30% ของ งบปฐมภูมิ, งบตติยภูมิ ด้วย จะไม่มีการเรียกคืนงบค่าเสื่อม(งบลงทุน)หากอยู่ครบปีงบประมาณ เนื่องจากมีการแยกชัดเจนกับงบที่มีการพัฒนา การเรียกคืนงบค่าเสื่อมจะเกิดขึ้นกรณีที่หน่วยบริการไม่สามารถให้บริการสาธารณสุขจนครบปีงบประมาณของสัญญาการให้บริการสาธารณสุข

สรุป งบค่าเสื่อมในส่วนของ สป.สธ. มีการปรับดังนี้ 1) อัตรา/ปชก. ลดลง จาก 148.69 128.69 2) เงินระดับเขต ลดลง จาก 30% 20% 3) มีการรวมกันของระดับจังหวัดและระดับ หน่วยบริการ เป็น 70% โดยกำหนดให้ จัดสรรให้หน่วยบริการจากเดิม 40% ไม่น้อยกว่า 50 % มีการกันเงิน 500 ล้านบาทเพื่อการพัฒนา ตติยภูมิเฉพาะด้าน โดยไม่มี central pool