การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม เสนอในการประชุมชี้แจงเขต ระหว่างวันที่ 22-23 กันยายน 2555 สำนักบริหารการจัดสรรกองทุน
การออกแบบการบริหารงบค่าเสื่อม ใช้หลักการเดียวกับปีงบประมาณ 2555 ปีงบประมาณ 2556 ใช้หลักการเดียวกับปีงบประมาณ 2555
แนวคิด /หลักการและเหตุผล งบค่าเสื่อม เป็นงบประมาณที่จัดขึ้นเพื่อสนับสนุนให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างเหมาะสม และเกิดประสิทธิภาพในการให้บริการในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่มีคุณภาพ ประชาชนเข้าถึงบริการสุขภาพที่จำเป็นและมีคุณภาพได้อย่างเท่าเทียมกัน
ความหมายของงบค่าเสื่อม เงินกองทุนฯที่ใช้ในการจัดหา ด้วยการ จัดซื้อ จัดจ้าง หรือเช่า เพื่อการทดแทนส่วนขาด และซ่อมบำรุงครุภัณฑ์ สิ่งก่อสร้าง ที่เสื่อมสภาพ หรือถดถอย หรือเสียหายจนไม่สามารถใช้งาน ได้ดังเดิม จากการให้บริการสาธารณสุขแก่ผู้มีสิทธิ ในระบบหลักประกันฯ
กรอบการบริหารเงินค่าเสื่อม ปี2556 (A) ภาครัฐ (B) ภาคเอกชน (A1) ภาครัฐสังกัด สป.สธ. (A2) ตติยภูมิเขต (500 ลบ.) (A3) ภาครัฐนอก สังกัด สป.สธ. หน่วย บริการ (A1.1) ส่วนกลาง(กสธ.) 10% หน่วย บริการ (A1.2) เขต 20% หมายเหตุ 1. เงินตติยภูมิ (A2) เฉพาะเขต 9 และ13 ตัดจากงบของเอกชนมารวมด้วย 2. เงินในข้อ A1.3 ต้องจัดสรรให้หน่วยบริการ ไม่น้อยกว่า 50% (A1.3) จังหวัด/หน่วยบริการ 70% หน่วยบริการ
เกณฑ์การจัดสรร
หน่วยบริการที่สามารถรับงบค่าเสื่อม หน่วยบริการในระบบ UC ทุกสังกัด บริการ OP PP IP บริการ IP รับงบค่าเสื่อมจาก การให้บริการ OP PP IP การให้บริการ OP PP การให้บริการ IP ยกเว้น หน่วยบริการรับส่งต่อเฉพาะโรค บริการ OP PP
วงเงินของค่าเสื่อมจากการบริการ IP หลักการคำนวณเงิน สัดส่วนการแบ่ง ข้อมูลที่ใช้ วงเงินของค่าเสื่อมจากการบริการ OP+PP ประชากร เดือน ตค.55 วงเงินของค่าเสื่อมจากการบริการ IP Sum adj. RW 10 เดือน ของปีงบประมาณที่ผ่านมา สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สปสธ. นำวงเงินรวมมาคำนวณจัดสรรให้หน่วยบริการอีกครั้งตามจำนวนประชากรที่ลงทะเบียนกับหน่วยบริการแต่ละแห่ง
การจัดสรรเงิน ไม่มีการจัดสรรงบค่าเสื่อมให้กับหน่วยบริการ ที่เข้าใหม่ระหว่างปี กรณีที่มีหน่วยบริการลาออก และมีการโอนถ่าย ประชากรกลางปีงบประมาณ ให้สำนักงานฯเขต พิจารณาโอนงบค่าเสื่อมให้กับหน่วยบริการที่รับ ดูแลประชากรจริงตามสัดส่วนที่ให้บริการ
การเรียกคืนงบค่าเสื่อม ปี 49-50 ปี 51-56 เนื่องจากมีการจัดสรรงบลงทุนทดแทนทั่วไป จำนวน 70 % และงบปฐมภูมิ, งบตติยภูมิ อีก 30% ให้กับหน่วยบริการ ดังนั้น การลาออกจากโครงการทุกครั้ง จะมีการคิดค่าเสื่อมในส่วน 30% ของ งบปฐมภูมิ, งบตติยภูมิ ด้วย จะไม่มีการเรียกคืนงบค่าเสื่อม(งบลงทุน)หากอยู่ครบปีงบประมาณ เนื่องจากมีการแยกชัดเจนกับงบที่มีการพัฒนา การเรียกคืนงบค่าเสื่อมจะเกิดขึ้นกรณีที่หน่วยบริการไม่สามารถให้บริการสาธารณสุขจนครบปีงบประมาณของสัญญาการให้บริการสาธารณสุข
สรุป งบค่าเสื่อมในส่วนของ สป.สธ. มีการปรับดังนี้ 1) อัตรา/ปชก. ลดลง จาก 148.69 128.69 2) เงินระดับเขต ลดลง จาก 30% 20% 3) มีการรวมกันของระดับจังหวัดและระดับ หน่วยบริการ เป็น 70% โดยกำหนดให้ จัดสรรให้หน่วยบริการจากเดิม 40% ไม่น้อยกว่า 50 % มีการกันเงิน 500 ล้านบาทเพื่อการพัฒนา ตติยภูมิเฉพาะด้าน โดยไม่มี central pool