กลุ่มงานตำรา ผศ. สุมล มานัสฤดี อ. วิภาวี ตลึงจิตร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมเกียรติ คูหเวโรจนปกรณ์
Advertisements

ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
หลักเกณฑ์ วิธีการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การเขียนผลงานวิชาการ
ประสบการณ์การเขียนหนังสือ-ตำรา
Page 1. Page 2 ประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบาย วางแผน และกำหนดแนวทางหรือการ ปรับปรุงด้านบริหารจัดการ การเรียนการ สอน และดำเนินงานอื่นๆของมหาวิทยาลัย มีแนวทางการขอรับทุน.
การชี้แจงแนวทางการให้ทุนอุดหนุนการวิจัย
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ผลงานประเมินเข้าสู่ตำแหน่งนักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการพิเศษ
การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
ผศ.ดร. ม.ร.ว. กัลยา ติงศภัทิย์ รองอธิการบดี 30 มกราคม 2555
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ
การประมวลและประเมินความก้าวหน้าทางวิชาการ
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
ชื่อโครงการ : เพิ่มประสิทธิภาพงานสวัสดิการ
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
Seminar in computer Science
การประชุมสัมมนา “ผลิตผลงานวิชาการอย่างไร ให้ผ่านแบบม้วนเดียวจบ”
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
ผศ.ดร. วนาวัลย์ ดาตี้ ผู้ช่วยอธิการบดี
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
สรุปกิจกรรม : โสเหล่ครั้งที่ 5 การเตรียมสอบสอน/การยื่นผศ. 29 พ. ค
27 ตุลาคม 2551 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
วิธีการเขียนรายงานของปัญหาพิเศษ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานด้านการ บริการวิชาการ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีจำนวนกิจกรรม / โครงการ บริการวิชาการและวิชาชีพ ในปีการศึกษา 2548 จำนวน 27 กิจกรรม ทั้งนี้
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชาตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบบัณฑิตศึกษา
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
เอกสารประกอบการสอน การรวบรวมใบความรู้เป็นรูปเล่ม
การสัมมนาโครงการสร้างอนาคต แพทย์ทหารเรือ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๑ ขั้นตอนที่ ๑ Stake Holder Analysis : การวิเคราะห์ความต้องการของ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทั้งหมด ขั้นตอนที่
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
งานธุรการ กองการบริหารงานบุคคล
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ ของการประกันคุณภาพการศึกษา
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
กระบวนการประกันคุณภาพ ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
วิธีวิทยาการวิจัยขั้นสูงทางการศึกษา
โครงสร้างการบริหารงานสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
นำเสนอผลงาน กลุ่มที่ 5 ศพพ. (ศูนย์พักพิง)
ผลลัพธ์การเรียนรู้:ผลการจัดการความรู้
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
1. ปรับปรุงคณะทำงานให้ครอบคลุมทุกหน่วยงาน 2. ปรับการทำงานให้สอดคล้องกับนโยบายของ สำนักและกรม ฯ 3. สรุปบทเรียนการทำงาน ปี จัดทำแผนการปฏิบัติงานปี
แนวทางการประเมินผลงาน ทางวิชาการ
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การขอตำแหน่งทางวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร. ปานสิริ พันธุ์สุวรรณ
งานวิจัยและวิเทศสัมพันธ์
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
ประชุมคณาจารย์คณะครุศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน 2557
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การปรับเปลี่ยนผลักดันการพัฒนาด้านทรัพยากรบุคคล: Measures and Drives of Personnel work load กลุ่มที่ 2.1 ประธานกลุ่ม/ผู้นำเสนอ ผศ.ดร.อุดมศักดิ์ เห่วซึ่งเจริญ.
แนวปฏิบัติและวิธีการ ขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
โครงการจัดตั้งสายวิชาบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มงานตำรา ผศ. สุมล มานัสฤดี อ. วิภาวี ตลึงจิตร ผศ. สุมล มานัสฤดี อ. วิภาวี ตลึงจิตร ผศ. ดวงทิพย์ จันทร์อ่วม ผศ. จุฑามาศ ไพบูลย์ศักดิ์ ผศ. ดร. อัมพร เสงี่ยมวิบูล อ. เอมอร ณรงค์ อ. ประไพพิศ เขมะชิต อ. ประภาศรี หิรัญกสิ

โจทย์ปัญหา 1. ปัญหาและข้อเสนอแนะ 2. การสร้างแรงจูงใจ

อาจารย์ขอทุนตำราน้อย ระบบงานของศูนย์ฯ ที่มาของปัญหา อาจารย์ขอทุนตำราน้อย ระบบงานของศูนย์ฯ

ปัญหา ข้อเสนอแนะ ภาระงานสอน/งานบริหาร 1.1 หยุดได้ 1 วันต่อสัปดาห์ ปัญหา ข้อเสนอแนะ ภาระงานสอน/งานบริหาร 1.1 หยุดได้ 1 วันต่อสัปดาห์ 1.2 ตำรา/วิจัย 1 เล่มคิดเป็นภาระงานสอน 1 วิชา

ปัญหา ข้อเสนอแนะ 2.1 หัวหน้าสาขาฯ/ ผู้เสนอสามารถเสนอ Reader ได้ ปัญหา ข้อเสนอแนะ 2. มาตรฐานศูนย์ฯ/ reader สูง 2.1 หัวหน้าสาขาฯ/ ผู้เสนอสามารถเสนอ Reader ได้ 2.2 ศูนย์พิจารณา Reader ที่เหมาะสม

ปัญหา ข้อเสนอแนะ 3.ขั้นตอนยุ่งยาก/เร่งรัด 1 ปีเป็น 2 ปี ปัญหา ข้อเสนอแนะ 3.ขั้นตอนยุ่งยาก/เร่งรัด 4. ขาดประสบการณ์ในการเขียน 3.1 ขยายเวลาจาก 1 ปีเป็น 2 ปี 3.2 ติดตาม 3 ช่วง 4. จัดอบรมเขียนการตำรา

ปัญหา ข้อเสนอแนะ 5.ขาดการเผยแพร่เกี่ยวกับทุนอย่างทั่วถึง 5. ศูนย์ควรจัดการเผยแพร่ข่าวสารความเคลื่อนไหวของผู้รับทุนเป็นระยะอย่างต่อเนื่องและทั่วถึง

ปัญหา ข้อเสนอแนะ 6.ขาดแรงจูงใจ 6.1 อาจารย์ลาได้ 1 วันต่อสัปดาห์ ปัญหา ข้อเสนอแนะ 6.ขาดแรงจูงใจ 6.1 อาจารย์ลาได้ 1 วันต่อสัปดาห์ 6.2 คิดภาระงานสอน 1 วิชา 6.3 ได้รับการพิจารณาขึ้นขั้นเป็นกรณีพิเศษหรือเพิ่มค่าจ้างสำหรับอาจารย์สัญญาจ้างพิเศษ

ปัญหา ข้อเสนอแนะ 6.ขาดแรงจูงใจ ปัญหา ข้อเสนอแนะ 6.ขาดแรงจูงใจ 6.4 วิจัย+ตำราทะลุขั้นเงินที่ตัน เพิ่มผลงานประกันคุณภาพ, ตำแหน่งวิชาการ 6.5 ศูนย์อนุมัติทุนอย่างน้อยสาขาฯละ 1 ทุน 6.6 ขออนุมัติทุนได้ตลอดทั้งปี

ปัญหา ข้อเสนอแนะ 7. สัญญาไม่เหมาะสม 7. ปรับสัญญา 7.1 ลิขสิทธิ์ 2 ปี 7.2 จ่าย 3 งวด ช่วง 40:30:30 งาน 40:30:30

แรงจูงใจให้อาจารย์ผลิตตำรา ขยายเวลาจาก 1 เป็น 2 ปี เงื่อนไข แบบเดิม เสนอเค้าโครงก่อน อาจารย์ผู้เสนอขอสามารถปรึกษา reader ได้ แบบใหม่ อาจเสนอตัวเล่มที่สมบูรณ์แล้ว เสนอให้ Reader พิจารณา หมายเหตุ 1. ทั้ง 2 แบบให้ศูนย์วิจัยเป็นผู้หา reader 2. Reader ที่พิจารณาเค้าโครงและตัวเล่มเป็นคนเดียวกัน โครงให

แรงเสริม อาจารย์ลาได้ 1 วันต่อสัปดาห์ คิดภาระงานสอน 1 วิชา ได้รับการพิจารณาขึ้นขั้นเป็นกรณีพิเศษหรือเพิ่มค่าจ้างสำหรับอาจารย์สัญญาจ้างพิเศษ

เพื่อเพิ่มผลงานประกันคุณภาพ, ตำแหน่งวิชาการ แรงเสริม 4. วิจัย +ตำราทะลุขั้นเงินที่ตัน เพื่อเพิ่มผลงานประกันคุณภาพ, ตำแหน่งวิชาการ

แรงเสริม(การเผยแพร่ผลงาน) ให้งานเอกสารและตำราเป็นผู้จัดพิมพ์ ให้อาจารย์ผู้เขียนและผู้สอนใช้ตำรานั้น (กำหนดเป็นนโยบาย)

ข้อเสนอเกี่ยวกับการจัดการและการดำเนินงาน ปรับค่าตอบแทน Reader จาก 3,000 บาท เป็น 4,000 บาท 2. การประชาสัมพันธ์ควรเน้นการบริการและการประสานงานที่ประทับใจ

แบบประเมินตำรา 1. เกณฑ์ประเมิน เดิม ใหม่ ดี พอใช้ แก้ไข ดีมาก ดี พอใช้

หัวข้อในแบบประเมิน 1. รูปแบบ 1. ความถูกต้องของเนื้อหาทางวิชาการ 2. การเรียงลำดับและ ความต่อเนื่อง 2. ความทันสมัยทางวิชาการ 3. ความถูกต้องทางวิชาการ 3.การอ้างอิงทางวิชาการ

หัวข้อในแบบประเมิน 4. ความลึกซึ้ง 4. ความลุ่มลึกของเนื้อหาทางวิชาการ 5. ความทันสมัย 5. การใช้ภาษาและการสื่อความหมาย 6. การใช้ภาษาและการสื่อความหมาย 6. ความต่อเนื่องของเนื้อหา

หัวข้อประเมิน 7. การให้ความรู้ใหม่ทางวิชาการ 7. การใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอน 8. การให้ประโยชน์ในการเรียนการสอน 8. การใช้ประโยชน์เป็นแหล่งอ้างอิง

หัวข้อประเมิน 9. การให้ประโยชน์เป็นแหล่งอ้างอิง 10. การใช้ความพยายามในการค้นคว้า ศูนย์ฯควรทำคู่มือการเขียนตำราสำหรับ ผู้ขอรับทุน

สรุปข้อเสนอที่ต้องกระทำ เสนอให้การเขียนตำราเป็น วาระแห่งเกริก (2553-2555) จัดแถลงข่าวการระดมสมองจากการสัมมนาครั้งนี้เพื่อสร้างความเข้าใจและให้เห็นความสำคัญของการผลิตผลงานทางวิชาการ ให้พิจารณาเผยแพร่ผลงานของอาจารย์ประจำเป็นอันดับแรก