วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เรื่องเงินและการบันทึกรายรับ - รายจ่าย
เงินและการบันทึกรายรับ - รายจ่าย ชนิดของเงิน 25 สตางค์(เหรียญสลึง) 50 สตางค์ 1 บาท 2 บาท 5 บาท 10 บาท 1. เงินเหรียญ
2. เงินธนบัตร 20 บาท 20 บาท 50 บาท 100 บาท 1,000 บาท 500 บาท 1000 บาท
การแลกเงินเหรียญ
การแลกธนบัตร
หรือธนบัตรใบละ 100 บาท
จากรูป ธนบัตรใบละ 1,000 บาท 500 บาท 100 บาท 50 บาท 20 บาท กับ เหรียญ 10 บาท 5 บาท 2 บาท 1 บาท 50 สตางค์ 25 สตางค์ รวมเป็นเงิน 1,688 บาท 75 สตางค์ การรวมเงิน
การเขียนจำนวนเงินโดยใช้จุดและการอ่าน การเขียนจำนวนเงินโดยใช้จุดคั่นระหว่างบาทกับสตางค์ เช่น ซอสปรุงรสราคาขวดละ 35 บาท 75 สตางค์ เขียนจำนวนเงินได้เป็น 35.75 บาท อ่านว่า สามสิบห้าบาทเจ็ดสิบห้าสตางค์ หรือ จำนวนเงิน 130 บาท 25 สตางค์ เขียน 130.25 บาท อ่านว่า หนึ่งร้อยสามสิบบาทยี่สิบห้าสตางค์
หรือ เงิน 100 สตางค์ เท่ากับ 1 บาท เงิน 100 สตางค์ เท่ากับ 1 บาท เงิน 450 สตางค์ เขียนเป็นเงินได้เป็น 4.50 บาท อ่านว่า สี่บาทห้าสิบสตางค์ ตัวเลขที่อยู่หน้าจุด บอกจำนวนเงินเป็นบาท ตัวเลขที่อยู่หลังจุด บอกจำนวนเงินเป็นสตางค์ หรือ
การเปรียบเทียบจำนวนเงิน ในการเปรียบเทียบจำนวนเงิน ให้เปรียบเทียบจำนวนบาทก่อน ถ้าเท่ากันจึงเปรียบเทียบจำนวนสตางค์ 150.50 บาท 150.75 บาท ดอกไม้สองช่อ มีจำนวนเงินเป็นบาทเท่ากัน คือ 150 บาท แต่จำนวนเงินเป็นสตางค์ไม่เท่ากัน 50 สตางค์ น้อยกว่า 75 สตางค์ แสดงว่า 150.50 บาท น้อยกว่า 150.75 บาท หรือ 150.75 บาทมากกว่า 150.50 บาท
การบันทึกรายรับและรายจ่าย การบันทึกรายรับและรายจ่าย จะช่วยให้เราตรวจสอบได้ว่าใช้จ่ายเงินไปเหมาะสมเพียงใด วัน เดือน ปี รายการ รายรับ (บาท) รายจ่าย (บาท) คงเหลือ (บาท) 5 ธันวาคม 2554 คุณพ่อให้เงิน 500.00 - 6 ธันวาคม 2554 ซื้ออุปกรณ์การวัด ซื้อไอศกรีม 54.50 9.25 445.50 436.25 8 ธันวาคม 2554 คุณแม่ให้เงิน ซื้อหนังสือนิทาน 100.00 25.00 536.25 511.25 รวม 600.00 88.75