๓ ไม่ ๒ มี Road map หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๕ ขั้นที่ ๔

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๕ ส่งเสริมและพัฒนาระบบสารสนเทศชุมชน
Advertisements

การจัดทำแผนบริหารจัดการชุมชน
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
การจัดทำโครงการเฉลิมพระเกียรติ
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
ทิศทางการจัดการศึกษา โรงเรียนเจริญราษฏร์วิทยา
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
ความหมายและกระบวนการ
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
กิจกรรมขับเคลื่อน “ วาระชุมชน ”
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
กระบวนการขับเคลื่อนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
งบหน้าข้อมูลผู้รับเมล็ดพันธุ์ผักพระราชทานฯ
กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน
อัญชลีพร พันธุ์วิไล หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน
กลุ่มงานส่งเสริม การพัฒนาทุน
คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน
การมอบหมายภารกิจผู้นำชุมชน หลังเสร็จสิ้นการฝึกอบรม
สำนักส่งเสริมและ พิทักษ์เด็ก
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แนวทางการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
กลุ่มที่ ๔ “ รวมมิตรพิชิต ศูนย์ ” ® วิธีการ/แนวทางการ ปฏิบัติงาน และพัฒนาส่งเสริม การเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน.
กรมฯอบรมการสร้างวิทยากรระดับจังหวัด
การสร้างเสริมวัฒนธรรมองค์กรที่ดี และธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ
ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง ปี 2550 กรมส่งเสริมการเกษตร
ระบบส่งเสริมการเกษตร
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
๔. ด้านการพัฒนาบุคลากร ของสถานศึกษา.
๑. ด้านบริหารจัดการสถานศึกษา
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
แผนงานดูแลผู้สูงอายุ
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
การส่งเสริมครอบครัวแข็งแรงเพื่อเป็นฐานของสังคมตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2557.
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๑ พ.ศ.๒๕๕๔ - ๒๕๕๙
สรุปผลการดำเนินงาน สพอ.เดิมบางนางบวช ระหว่างวันที่ ตุลาคม 2557
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
สร้างแกนนำหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ปี พฤศจิกายน 2557 โรงแรมเรือนแพ รอยัลปาร์ค พิษณุโลก.
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
การขับเคลื่อนโครงการ ๑. การขับเคลื่อนโครงการ ใช้กลไกคณะอำนวยการปฏิบัติการขจัด ความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงระดับอำเภอ / ตำบล / หมู่บ้าน.
การขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ ของ
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
โครงการความร่วมมือของ บวร เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC
การจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ
ระบบสุขภาพชุมชน : คุณค่า และความดีงาม ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๖ มหกรรมกองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดที่
การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2558
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
แนวคิดและหลักการส่งเสริมการตรวจสุขภาพ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
การติดตามงานโครงการส่งเสริมการเกษตรครั้งที่ ๓ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔
จำนวนของครัวเรือนยากจนที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ.
ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

๓ ไม่ ๒ มี Road map หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๕ ขั้นที่ ๔ ยกย่องเชิดชูเกียรติ ดัชนีชี้วัดความสุขมวลรวม ๖ องค์ประกอบ ๒๒ ตัวชี้วัด หมู่บ้าน/ชุมชน/ประชาชนมีวิถีชีวิตความพอเพียงและมีความสุขมวลรวม (GVH) เพิ่มขึ้น ร้อยละ ๑๐๐ = ๑๒๗ หมู่บ้าน ฐานข้อมูล/เป้าหมาย ๓ ไม่ ๒ มี การยกย่องเชิดชูเกียรติ/ประกาศระดับความสุข ขั้นที่ ๓ รักษาและ พัฒนา ขยายผล (๑๒๗ บ้าน) บูรณาการในทุกระดับ ฐานข้อมูล หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงทั้งหมด จำนวน๒,๔๔๔หมู่บ้านระดับ ๑=๑,๓๘๔ บ้าน ระดับ ๒ = ๙๖๓ บ้าน ระดับ ๓ =๙๗ บ้าน การประกาศหมู่บ้าน/ชุมชน เศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ เกณฑ์ของกระทรวงมท. (๔ ด้าน ๒๓ ตัวชี้วัด) ประเมินหมู่บ้าน/ชุมชน เศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ บูรณาการในระดับพื้นที่ อำเภอ/จังหวัด การรักษาและขยายผลหมู่บ้าน/ชุมชน เศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ขั้นที่ ๒ คัดเลือกเป้าหมาย อำเภอละ ๑ หมู่บ้าน รักษามาตรฐาน ๑๐๗ บ้าน พัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน เศรษฐกิจพอเพียง ตามเป้าหมาย ประเภทหมู่บ้าน/ชุมชน (“พออยู่ พอกิน” “อยู่ดี กินดี” “มั่งมี ศรีสุข”) คณะกรรมการระดับ ตำบล/อำเภอ/จังหวัด เป้าหมายปี ๕๕ จำนวน ๑๒๗ บ้าน/ชุมชน(รายละเอียดตามเอกสารแนบ) ขั้นที่ ๑ การประเมินแยกประเภท ผลการประเมินปี ๕๔ (๒,๔๔๔ บ้าน )มีดังนี้ ระดับ ๑ = ๑,๓๘๔ บ้าน ระดับ ๒ = ๙๖๓ บ้าน ระดับ ๓ =๙๗ บ้าน การประเมิน/คัดเลือก หมู่บ้าน/ชุมชน ที่เข้าเกณฑ์การพัฒนา หลักเกณฑ์ศูนย์เรียนรู้ ชุมชน หมู่บ้าน/ชุมชน ที่สามารถยกระดับเป็นแหล่งเรียนรู้ หมู่บ้าน/ชุมชน ที่ได้รับการส่งเสริมวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง เกณฑ์ชี้วัด ๖x ๒ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ๒,๔๔๔ หมู่บ้าน หมู่บ้าน/ชุมชนเข้าสู่การพัฒนา

กรอบการขับเคลื่อนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ (๘)หมู่บ้านต้นแบบ ความสุขมวลรวมชุมชน (Gross village happiness) เกษตร ประมง ปศุสัตว์ สหกรณ์ พัฒนาที่ดิน ทหาร ราชภัฏ กปร. สธ. กศน. อบต. (๗) สรุปผลการทำงาน จัดการความรู้ วิจัยชุมชน ศูนย์เรียนรู้ชุมชน กลุ่มธุรกิจ/OTOP ออมทรัพย์ สถาบันการจัด การเงินชุมชน ฯลฯ ไม่ขัดแย้ง /ปชต. หน้าที่พลเมือง (๖) กิจกรรมสมานฉันท์ (๕) ฝึกทำกิจกรรม จากแผน อาชีพ/ช่วยตัวเอง เพิ่มทักษะ เครือข่าย สตรี คุณภาพแผน (๔) ทำแผนชีวิต ทบทวน ปรับแผน เป้าหมาย มีงานทำ ลดหนี้ มีสวัสดิการ ศอช. บูรณาการตำบล พฤติกรรมพอเพียง จุดเรียนรู้/ต้นแบบ หลักเศรษฐกิจพอเพียง ค้นหาทุนชุมชน (๓) พัฒนาครัวเรือน จปฐ. กชช.๒ ค ผู้นำอช. ผู้นำกลุ่มบริหารจัดการชุมชน อบรมผู้นำชุมชน (๒) สร้างแกนนำชุมชน (๑)วิทยากรกระบวนการ พัฒนาหมู่บ้าน ศกพ. เสริมศักยภาพ จัดการความรู้

กระบวนการในการประเมินหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดร้อยเอ็ด ประจำปี 2555 ๑.การประเมินตามตัวชี้วัดกระทรวงมหาดไทย ๔ ด้าน ๒๓ ตัวชี้วัด ๒.รูปแบบการประเมินความสุขมวลรวมแบบมีส่วนร่วม องค์ประกอบตัวชี้วัด ความสุขมวลรวมแบบมี ส่วนรวม ขั้นตอนการ ประเมิน เกณฑ์การวัดคะแนน (ปรอทวัดความสุข) มีการประเมินอยู่ ๒ วิธี คือ ๑.วิเคราะห์ดัชนีและประเมินค่าความ “อยู่เย็นเป็น สุข”ของชุมชน ๑.๑.จังหวัดดำเนินการสำรวจชุมชน บันทึก จปฐ.และช้อมูลชุมชน รง.๐๔ ส่งกรม ฯ ๒ ครั้ง (มี.ค.,ก.ย.) นักวิชาการส่วนกลางจะประมวลผลเพื่อประเมินความ “อยู่เย็น เป็นสุข” ๑.๒ นักวิชาการในส่วนกลางรับผิดชอบ ดำเนินการประมวลผลข้อมูลทั้ง ๒ ชุด โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการประมวลผล ๒.การประเมินความ “อยู่เย็น เป็นสุข” ของชุมชนแบบมีส่วนร่วม ๒.๑ .ใช้การประเมินชุมชนแบบมีส่วนรวม (Participatory Rural Apprisal ) โดยการจัดประชุมในชุมชน ๒.๒ ผู้เข้าร่วมประชุมร่วมกันทำความเข้าใจในองค์ประกอบของดัชนีชี้วัดความสุข แต่ละองค์ประกอบ ๒.๓ เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน หรือผู้นำชุมชน ผู้ทำหน้าที่เอื้ออำนวยการประชุม ๒.๔ การให้คะแนนระดับความสุข จัดเป็น ๕ ระดับคะแนน องค์ประกอบที่เป็น ปัจจัยพื้นฐานในการสร้างความสุข ๖ องค์ประกอบ ๒๒ ตัวชี้วัด ๑)การมีสุขภาวะ จำนวน ๓ ตัวชี้วัด ๒) เศรษฐกิจชุมชนเข้มแข็งเป็นธรรม จำนวน ๓ ตัวชี้วัด ๓)ครอบครัวอบอุ่น จำนวน ๓ ตัวชี้วัด ๔)ชุมชนมีการบริหารจัดการชุมชนดี จำนวน ๕ ตัวชี้วัด ๕)การมีสภาพแวดล้อมดีมีระบบนิเวศที่สมดุล จำนวน ๔ ตัวชี้วัด ๖) เป็นชุมชนประชาธิปไตยมี ธรรมาภิบาล จำนวน ๔ ตัวชี้วัด ปรอทวัดความสุข เป็นเครื่องมือแสดงผลภาพรวมทุกตัวชี้วัด แบ่งคะแนนเป็น ๕ระดับ -คะแนน ๐-๒๐ คะแนน อยู่ร้อนนอนทุกข์ -คะแนน ๒๑-๔๐ คะแนน อยู่ได้ คลายทุกข์ -คะแนน ๔๑-๖๐ คะแนน อยู่อิ่ม นอนอุ่น -คะแนน ๖๑-๘๐ คะแนน อยู่ดี มีสุข -คะแนน ๘๑-๑๐๐ คะแนน อยู่เย็น เป็นสุข