๓ ไม่ ๒ มี Road map หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๕ ขั้นที่ ๔ ยกย่องเชิดชูเกียรติ ดัชนีชี้วัดความสุขมวลรวม ๖ องค์ประกอบ ๒๒ ตัวชี้วัด หมู่บ้าน/ชุมชน/ประชาชนมีวิถีชีวิตความพอเพียงและมีความสุขมวลรวม (GVH) เพิ่มขึ้น ร้อยละ ๑๐๐ = ๑๒๗ หมู่บ้าน ฐานข้อมูล/เป้าหมาย ๓ ไม่ ๒ มี การยกย่องเชิดชูเกียรติ/ประกาศระดับความสุข ขั้นที่ ๓ รักษาและ พัฒนา ขยายผล (๑๒๗ บ้าน) บูรณาการในทุกระดับ ฐานข้อมูล หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงทั้งหมด จำนวน๒,๔๔๔หมู่บ้านระดับ ๑=๑,๓๘๔ บ้าน ระดับ ๒ = ๙๖๓ บ้าน ระดับ ๓ =๙๗ บ้าน การประกาศหมู่บ้าน/ชุมชน เศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ เกณฑ์ของกระทรวงมท. (๔ ด้าน ๒๓ ตัวชี้วัด) ประเมินหมู่บ้าน/ชุมชน เศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ บูรณาการในระดับพื้นที่ อำเภอ/จังหวัด การรักษาและขยายผลหมู่บ้าน/ชุมชน เศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ขั้นที่ ๒ คัดเลือกเป้าหมาย อำเภอละ ๑ หมู่บ้าน รักษามาตรฐาน ๑๐๗ บ้าน พัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน เศรษฐกิจพอเพียง ตามเป้าหมาย ประเภทหมู่บ้าน/ชุมชน (“พออยู่ พอกิน” “อยู่ดี กินดี” “มั่งมี ศรีสุข”) คณะกรรมการระดับ ตำบล/อำเภอ/จังหวัด เป้าหมายปี ๕๕ จำนวน ๑๒๗ บ้าน/ชุมชน(รายละเอียดตามเอกสารแนบ) ขั้นที่ ๑ การประเมินแยกประเภท ผลการประเมินปี ๕๔ (๒,๔๔๔ บ้าน )มีดังนี้ ระดับ ๑ = ๑,๓๘๔ บ้าน ระดับ ๒ = ๙๖๓ บ้าน ระดับ ๓ =๙๗ บ้าน การประเมิน/คัดเลือก หมู่บ้าน/ชุมชน ที่เข้าเกณฑ์การพัฒนา หลักเกณฑ์ศูนย์เรียนรู้ ชุมชน หมู่บ้าน/ชุมชน ที่สามารถยกระดับเป็นแหล่งเรียนรู้ หมู่บ้าน/ชุมชน ที่ได้รับการส่งเสริมวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง เกณฑ์ชี้วัด ๖x ๒ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ๒,๔๔๔ หมู่บ้าน หมู่บ้าน/ชุมชนเข้าสู่การพัฒนา
กรอบการขับเคลื่อนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ (๘)หมู่บ้านต้นแบบ ความสุขมวลรวมชุมชน (Gross village happiness) เกษตร ประมง ปศุสัตว์ สหกรณ์ พัฒนาที่ดิน ทหาร ราชภัฏ กปร. สธ. กศน. อบต. (๗) สรุปผลการทำงาน จัดการความรู้ วิจัยชุมชน ศูนย์เรียนรู้ชุมชน กลุ่มธุรกิจ/OTOP ออมทรัพย์ สถาบันการจัด การเงินชุมชน ฯลฯ ไม่ขัดแย้ง /ปชต. หน้าที่พลเมือง (๖) กิจกรรมสมานฉันท์ (๕) ฝึกทำกิจกรรม จากแผน อาชีพ/ช่วยตัวเอง เพิ่มทักษะ เครือข่าย สตรี คุณภาพแผน (๔) ทำแผนชีวิต ทบทวน ปรับแผน เป้าหมาย มีงานทำ ลดหนี้ มีสวัสดิการ ศอช. บูรณาการตำบล พฤติกรรมพอเพียง จุดเรียนรู้/ต้นแบบ หลักเศรษฐกิจพอเพียง ค้นหาทุนชุมชน (๓) พัฒนาครัวเรือน จปฐ. กชช.๒ ค ผู้นำอช. ผู้นำกลุ่มบริหารจัดการชุมชน อบรมผู้นำชุมชน (๒) สร้างแกนนำชุมชน (๑)วิทยากรกระบวนการ พัฒนาหมู่บ้าน ศกพ. เสริมศักยภาพ จัดการความรู้
กระบวนการในการประเมินหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดร้อยเอ็ด ประจำปี 2555 ๑.การประเมินตามตัวชี้วัดกระทรวงมหาดไทย ๔ ด้าน ๒๓ ตัวชี้วัด ๒.รูปแบบการประเมินความสุขมวลรวมแบบมีส่วนร่วม องค์ประกอบตัวชี้วัด ความสุขมวลรวมแบบมี ส่วนรวม ขั้นตอนการ ประเมิน เกณฑ์การวัดคะแนน (ปรอทวัดความสุข) มีการประเมินอยู่ ๒ วิธี คือ ๑.วิเคราะห์ดัชนีและประเมินค่าความ “อยู่เย็นเป็น สุข”ของชุมชน ๑.๑.จังหวัดดำเนินการสำรวจชุมชน บันทึก จปฐ.และช้อมูลชุมชน รง.๐๔ ส่งกรม ฯ ๒ ครั้ง (มี.ค.,ก.ย.) นักวิชาการส่วนกลางจะประมวลผลเพื่อประเมินความ “อยู่เย็น เป็นสุข” ๑.๒ นักวิชาการในส่วนกลางรับผิดชอบ ดำเนินการประมวลผลข้อมูลทั้ง ๒ ชุด โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการประมวลผล ๒.การประเมินความ “อยู่เย็น เป็นสุข” ของชุมชนแบบมีส่วนร่วม ๒.๑ .ใช้การประเมินชุมชนแบบมีส่วนรวม (Participatory Rural Apprisal ) โดยการจัดประชุมในชุมชน ๒.๒ ผู้เข้าร่วมประชุมร่วมกันทำความเข้าใจในองค์ประกอบของดัชนีชี้วัดความสุข แต่ละองค์ประกอบ ๒.๓ เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน หรือผู้นำชุมชน ผู้ทำหน้าที่เอื้ออำนวยการประชุม ๒.๔ การให้คะแนนระดับความสุข จัดเป็น ๕ ระดับคะแนน องค์ประกอบที่เป็น ปัจจัยพื้นฐานในการสร้างความสุข ๖ องค์ประกอบ ๒๒ ตัวชี้วัด ๑)การมีสุขภาวะ จำนวน ๓ ตัวชี้วัด ๒) เศรษฐกิจชุมชนเข้มแข็งเป็นธรรม จำนวน ๓ ตัวชี้วัด ๓)ครอบครัวอบอุ่น จำนวน ๓ ตัวชี้วัด ๔)ชุมชนมีการบริหารจัดการชุมชนดี จำนวน ๕ ตัวชี้วัด ๕)การมีสภาพแวดล้อมดีมีระบบนิเวศที่สมดุล จำนวน ๔ ตัวชี้วัด ๖) เป็นชุมชนประชาธิปไตยมี ธรรมาภิบาล จำนวน ๔ ตัวชี้วัด ปรอทวัดความสุข เป็นเครื่องมือแสดงผลภาพรวมทุกตัวชี้วัด แบ่งคะแนนเป็น ๕ระดับ -คะแนน ๐-๒๐ คะแนน อยู่ร้อนนอนทุกข์ -คะแนน ๒๑-๔๐ คะแนน อยู่ได้ คลายทุกข์ -คะแนน ๔๑-๖๐ คะแนน อยู่อิ่ม นอนอุ่น -คะแนน ๖๑-๘๐ คะแนน อยู่ดี มีสุข -คะแนน ๘๑-๑๐๐ คะแนน อยู่เย็น เป็นสุข