อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน หมายเลขโครงการ COE2009-07 บริการปฏิทินและตารางนัดหมายภาษาไทย Thai Shared Calendar and Event Schedules Service อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.กานดา สายแก้ว อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน รศ.วนิดา แก่นอากาศ รศ.วิโรจน์ ทวีปวรเดช ผู้จัดทำ 1. นางสาวมณฑิรา ทิพย์โชติ รหัส 493040170-6 2. นางสาวจุฬีลักษณ์ พละมาตย์ รหัส 493041122-2
หัวข้อนำเสนอ วัตถุประสงค์และขอบเขตของโครงการ แผนการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน ปัญหาและแนวทางการแก้ไข แผนการดำเนินการต่อไป
วัตถุประสงค์ของโครงการ ช่วยทำให้การนัดหมายพบปะสังสรรค์ทำได้ง่ายและรวดเร็ว ส่งเสริมการใช้โอเพนซอร์สซอฟต์แวร์หรือการใช้ซอฟต์แวร์ ที่ถูกต้องตามลิขสิทธิ์ ช่วยลดปริมาณกระดาษและเวลาในการนัดหมายระหว่างบุคคล
ขอบเขตของโครงการ มีระบบการลงทะเบียนเข้าใช้ โดยบุคลากรในองค์กร มีระบบการลงทะเบียนเข้าใช้ โดยบุคลากรในองค์กร มีระบบการสมัครสมาชิกเพื่อเข้าใช้สำหรับบุคคลทั่วไป สามารถแจ้งเตือนผ่านอีเมลขององค์กร หรืออีเมล์อื่นๆ มีการแจ้งเตือนวันสำคัญต่างๆ สามารถใช้งานร่วมกันได้สำหรับกลุ่มบุคคลที่ผู้ใช้ต้องการ สามารถค้นหาข้อมูลจากคำสำคัญได้
แผนการดำเนินงาน
ผลการดำเนินงาน ศึกษาโครงสร้างในการแปลงภาษาของ Zimbra แปลข้อความจากภาษาอังกฤษให้เป็นภาษาไทย แปลงข้อความที่เป็นภาษาไทยให้อยู่ในรูปแบบยูนิโค้ด(Unicode) Zimbra ที่เป็นภาษาไทย ทดลองใช้งานร่วมกับ Google Calendar
ผลการดำเนินงาน ศึกษาโครงสร้างในการแปลงภาษาของ Zimbra I18nMsg.properties : เก็บข้อความสากล เช่น ชื่อของเดือน วันที่ หรือรูปแบบของเวลา AjxMsg.properties : เก็บข้อความที่ใช้งานร่วมกับ Ajax ZMsg.properties : เก็บข้อความทั่วไป เช่น ข้อความแสดงข้อผิดพลาดของเซิร์ฟเวอร์ ZaMsg.properties : เก็บข้อความที่ใช้ในส่วนของผู้ใช้ที่เป็นผู้ดูแลระบบ ZmMsg.properties : เก็บข้อความที่ใช้ในส่วนของผู้ใช้ในรูปแบบขั้นสูง (Ajax) ZhMsg.properties : เก็บข้อความที่ใช้ในส่วนของผู้ใช้ในรูปแบบมาตรฐาน (HTML)
English (United Kingdom) ผลการดำเนินงาน เนื่องจาก Zimbra ได้ถูกออกแบบมาเพื่อรองรับหลายภาษา จึงได้มีการนำมาแปลเป็นภาษาต่างๆ เพื่อเพิ่มความสะดวกในการใช้งาน โดยภาษาที่ถูกนำมาแปลแล้วมีดังนี้ รหัสภาษา ภาษา ar Arabic id Indonesian da Danish it Italian de German ja Japanese el Greek ko Korean en English, American nl Dutch en_AU English (Australia) pl Polish en_GB English (United Kingdom) pt_BR Portuguese (Brazil) es Spanish ru Russian fr French sv Swedish he Hebrew zh_CN Chinese (simplified) hi Hindi zh_HK Chinese (Hong Kong)
รูปที่ 1 ตัวอย่างข้อความที่แปลเป็นภาษาไทย ผลการดำเนินงาน แปลข้อความจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย แปลข้อความทั้ง 6 หมวดหมู่ คือ I18nMsg.properties, AjxMsg.properties, ZMsg.properties, ZaMsg.properties, ZmMsg.properties และ ZhMsg.properties เพื่อให้ Zimbra สามารถรองรับภาษาไทย รูปที่ 1 ตัวอย่างข้อความที่แปลเป็นภาษาไทย
รูปที่ 2 ตัวอย่างการแปลงเป็น Unicode ผลการดำเนินงาน แปลงข้อความที่เป็นภาษาไทยให้อยู่ในรูปแบบยูนิโค้ด (Unicode) แปลงข้อความที่เป็นภาษาไทยเป็น Unicode โดยใช้เว็บไซต์ http://0xcc.net/jsescape/ เพื่อช่วยในการแปลง บันทึกไฟล์ที่แก้ไขใหม่ให้มีส่วนต่อท้ายเป็นโค้ดภาษา ดังนี้ ZMsg_th.properties รูปที่ 2 ตัวอย่างการแปลงเป็น Unicode
ผลการดำเนินงาน Zimbra ที่เป็นภาษาไทย รูปที่ 3 ปฏิทิน Zimbra ภาษาไทย
ผลการดำเนินงาน Zimbra ที่เป็นภาษาไทย รูปที่ 4 Zimbra ภาษาไทย
ผลการดำเนินงาน ทดลองใช้งานร่วมกับ Google Calendar
ผลการดำเนินงาน ทดลองใช้งานร่วมกับ Google Calendar (2) รูปที่ 6 เพิ่มปฏิทินของ Google เข้าไปใน Zimbra
ผลการดำเนินงาน ทดลองใช้งานร่วมกับ Google Calendar (3) รูปที่ 7 ปฏิทินของ Zimbra ที่เพิ่มปฏิทินของ Google เข้าไปแล้ว
ปัญหาและแนวทางการแก้ไข ยังไม่มีเครื่องเซิฟเวอร์จริง เพื่อใช้ในการติดตั้ง จำลองเครื่องตัวเองเป็นเซิร์ฟเวอร์ เวลาไม่ตรงกันเมื่อเพิ่มปฏิทินจาก Google calendar จะต้องปรับเขตเวลา(Time zone)ให้ตรงกันก่อน
แผนการดำเนินการต่อไป เพิ่มปฏิทินของมหาวิทยาลัย ทดลองใช้งานจริง
Q & A Thank you