คำอธิบายรายวิชา ศึกษาหลักทั่วไปของเศรษฐศาสตร์จุลภาคและมหภาค ในเรื่องปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ปัจจัยกำหนดอุปสงค์และอุปทานของสินค้าพฤติกรรมผู้บริโภค ลักษณะสำคัญของตลาดสินค้าที่มีการแข่งขันอย่างสมบูรณ์และไม่สมบูรณ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมเกียรติ คูหเวโรจนปกรณ์
Advertisements

ประสบการณ์การเขียนหนังสือ-ตำรา
แนะนำรายวิชา GED40003 คอมพิวเตอร์กับชีวิต
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471)
ข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วยการศึกษาชั้นปริญญาตรี พ.ศ. 2540
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Introduction to computer programming
กลไกราคากับผู้บริโภค
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตด้านสารสนเทศทางธุรกิจ มีวัตถุประสงค์ที่
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
ผู้สอน อาจารย์จุฬาวลี มณีเลิศ
ของวิชา การรู้สารสนเทศInformation Literacy
วัสดุอากาศยาน Aircraft materials (437201, )
« อาจารย์มนัสสินี บุญทำดี
Course Syllabus เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นสาหรับวิศวกร
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะและการ วิเคราะห์นโยบาย
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
การอ่านและนำเสนอ เรื่องเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อองค์การ
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิชา เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น Introduction to Economics Lecturer : Orasa Tuntiyawongsa Faculty of Applied Arts. KMITNB
Understanding Course Syllabus
สื่อประกอบการเรียนการสอน
การจัดการฐานข้อมูลเบื้องต้น (Database Management System)
วิชาระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
การสืบค้นสารสนเทศขั้นสูง (Advanced Information Retrieval)
การสืบค้นสารสนเทศขั้นสูง (Advanced Information Retrieval)
การบัญชีขั้นกลาง 1 (Intermediate Accounting 1)
การสืบค้นสารสนเทศขั้นสูง (Advanced Information Retrieval)
การสืบค้นสารสนเทศขั้นสูง (Advanced Information Retrieval)
วิชา การสืบค้นสารสนเทศ ขั้นสูง ( Advanced Information Retrieval ) รหัสวิชา (2-2)
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ รหัสวิชา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2551
เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics)
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
เพื่อสัมพันธภาพที่ดี
แผนการสอนรายวิชา (Lesson Plan)
โครงการสอนการถ่ายเทความร้อน
ชี้แจงวัตถุประสงค์ เนื้อหารายวิชา และหลักเกณฑ์ในการวัดผล
ชี้แจงวัตถุประสงค์ เนื้อหารายวิชา และหลักเกณฑ์ในการวัดผล
1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
งานวินัยและความประพฤติ
แนะนำกรรมการ หลักสูตร แผนการเรียน กิจกรรมพิเศษ สิ่งอำนวยความสะดวก.
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
โจทย์วิเคราะห์ปัญหาที่ 1
บทที่ 1.1 แนะนำรายวิชา.
การบริหารการผลิต 7 มิถุนายน 2556.
วิกฤตคุณภาพอุดมศึกษาไทย
ผศ.กสิณ ประกอบไวทยกิจ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
Introduction to Business Information System MGT 3202
ความปลอดภัยในโรงงานอุตสาหกรรม (Safety in Industry)
Course outline Software Architecture and Design
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี (Data Structures and Algorithms)
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสำหรับธุรกิจ
มศว 365 การจัดการสมัยใหม่ (Principles of Modern Management)
COURSE OUTLINE STRUCTURE PROGRAMMING Wattanapong suttapak, Software Engineering, school of Information communication Technology, university of phayao.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ตรรกะพื้นฐานและการแก้ปัญหา Basic logic and Problem Solving 3(2-2-5)
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Supachai Srisuchart ssrisuchart@econ.tu.ac.th

คำอธิบายรายวิชา ศึกษาหลักทั่วไปของเศรษฐศาสตร์จุลภาคและมหภาค ในเรื่องปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ปัจจัยกำหนดอุปสงค์และอุปทานของสินค้าพฤติกรรมผู้บริโภค ลักษณะสำคัญของตลาดสินค้าที่มีการแข่งขันอย่างสมบูรณ์และไม่สมบูรณ์ การคำนวณผลิตภัณฑ์ประชาชาติ การเงินการธนาคาร นโยบายการเงินและการคลังโดยสังเขป ความสำคัญของการค้าและการเงินระหว่างประเทศในดุลการชำระเงิน

วิธีการเรียนการสอน การศึกษาวิชานี้จะมีการบรรยาย สัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง ตามหัวข้อบรรยายที่กำหนดให้ในบทต่างๆ อาจารย์ผู้บรรยายอาจจะบรรยายเพียงบางหัวข้อ สำหรับหัวข้อที่ไม่มีการบรรยายนักศึกษาจะต้องอ่านและทำความเข้าใจด้วยตัวเอง จากหนังสือหรือเอกสารประกอบคำบรรยายที่ได้แนะนำไว้ในแต่ละบท นอกจากนี้นักศึกษาควรมีการฝึกฝนตนเองด้วย จากแบบฝึกหัดที่ผู้บรรยายจะมอบให้นักศึกษาทุกบทที่กำหนดให้

การปรึกษาอาจารย์ เมื่อนักศึกษาประสบปัญหาต่าง ๆ ในทุก ๆ เรื่องที่เกี่ยวกับการเรียนวิชานี้ จะเข้าพบอาจารย์ผู้บรรยายได้ทั้งก่อนหรือหลังเวลาเข้าเรียน หรือถ้านักศึกษาไม่สะดวกในเวลาเหล่านั้น อาจนัดแนะเวลาอื่นกับอาจารย์ก็ได้

ตำราและเอกสารประกอบการเรียน ตำราหรือเอกสารอื่นๆเกี่ยวกับหลักเศรษฐศาสตร์เบื้องต้นที่ระบุไว้ในแนวการบรรยาย วิชานี้ (Course Outline) หรือที่อาจารย์ผู้สอนแนะนำมีในห้องสมุดป๋วยที่ศูนย์รังสิต หรือที่ท่าพระจันทร์ เอกสารประกอบคำบรรยาย วิชา ศ.210 ซึ่งจัดทำโดยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักศึกษาสามารถซื้อได้ที่ห้องจำหน่ายเอกสาร ชั้นล่างคณะเศรษฐศาสตร์ มธ. ท่าพระจันทร์ และจำหน่ายที่ศูนย์หนังสือ ( ศูนย์รังสิต ) ทุกวันทำการ

ตำราภาษาไทย ตำราภาษาอังกฤษ วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 2541 ( พิมพ์ครั้งที่ 5 ), สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตำราภาษาอังกฤษ Lipsey, Richard G., Paul N. Courant, Douglas D. Purvis, and Peter O. Steiner, Economics, 11th edition 1996. (L & S). *****( แนะนำ ) McConnell, C.R., and Brue, Stanley C., Economics 13th ed. 1996. (MC) Samuelson, P.A. and Nordhaus W.D., Economics, Fifteenth edition 1998.

การวัดผล คะแนนประกอบด้วยการสอบกลางภาค สอบไล่ปลายภาค การทำแบบฝึกหัด และทดสอบย่อย ดังนี้ 1) การสอบกลางภาค 35 คะแนน 2) การสอบไล่ปลายภาค 50 คะแนน 3) การทำแบบฝึกหัด ทดสอบย่อย 15 คะแนน หมายเหตุ : มีการเช็คชื่อหรือสุ่มทดสอบในห้องเรียน ถ้าขาดเกิน 3 ครั้ง จะไม่มีสิทธิสอบไล่ และหากนักศึกษาทำคะแนนได้ต่ำกว่า 45 คะแนน จะได้รับเกรด F และหากนักศึกษาทำคะแนนได้เกินกว่า 85 คะแนนจะได้รับเกรด A สำหรับเกรดอื่นๆพิจารณาโดยใช้กลุ่มเป็นเกณฑ์

ห้องทำงานอาจารย์ ท่าพระจันทร์ ห้อง 451 คณะเศรษฐศาสตร์ ท่าพระจันทร์ โทร . ( 02 ) 613 – 2418 วันจันทร์ และ วันศุกร์ เวลา 10.00 น. – 14.00 น. (นัดหมายล่วงหน้า ) รังสิต: ห้องพักอาจารย์ อาคารวิจัย 244 วันอังคาร เวลา 10.00 – 11.00 น. และ 14.00 – 15.00 น วันพฤหัสบดี เวลา 10.00 – 11.00 น. E-mail : ssrisuchart@econ.tu.ac.th

หัวข้อบรรยาย วิชา เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์ บทที่ 2 อุปสงค์ (Demand) อุปทาน (Supply) และการกำหนดราคา (Price Determination) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน และการวิเคราะห์ปัญหาทางเศรษฐกิจบางประการ บทที่ 4 การผลิตและต้นทุนการผลิต บทที่ 5 ตลาด โครงสร้างตลาด และการกำหนดราคา บทที่ 6 การกำหนดรายได้ประชาชาติ

หัวข้อบรรยาย วิชา เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น บทที่ 7 บทบาทของภาครัฐบาล และนโยบายการคลัง บทที่ 8 การเงิน การธนาคาร สถาบันการเงิน และนโยบายการเงิน บทที่ 9 บทบาทของเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ในระบบเศรษฐกิจ บทที่ 10 เศรษฐกิจไทยและการประยุกต์ทฤษฎีเพื่อการอธิบาย