ตำบลจัดการสุขภาพตะลุง ปี 2554

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หมู่บ้านจัดการสุขภาพ ตำบลหนองยาว อ.เมือง จ.สระบุรี
Advertisements

๓ ไม่ ๒ มี Road map หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๕ ขั้นที่ ๔
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS)
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน คป.สอ.สตูล
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
โรงเรียน อสม.ตำบลหนองไม้แก่น
ความหมายและกระบวนการ
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
โรงเรียน อสม. ตำบลหนองไม้แก่น อ.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แก้ไขปัญหาทารกแรกเกิด นน.<2,500 กรัม อ.ศรีเชียงใหม่ จ.หนองคาย
สรุปผลการส่งเสริมพัฒนาการเด็กวัย ๐ - ๕ ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
ความสำเร็จของการทำงานอนามัยแม่และเด็ก
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
นโยบายยางน้อยสุขภาพดี ไม่มีพุง
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
Pass:
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
การพัฒนาสุขภาพ : กลุ่มเด็กวัยเรียน
แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุของพัทลุง
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ด้านการดำเนินงานการตั้งครรภ์หญิง วัยรุ่น o ๑. มาตรการด้านบริหารจัดการ การประชุมพิจารณา กรอบแนวทางการประเมินผลตามตัวชี้วัด และ มาตรฐานการดำเนินงานอำเภออนามัยการเจริญ.
Company LOGO รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน 20 ตุลาคม 2557.
วันรับรางวัล อสม.ดีเด่นระดับชาติประจำปี 2553 ณ หอประชุมเจ้าพระยา กองทัพเรือ กรุงเทพฯ วันที่ 24 มิถุนายน 2553.
ทำแผนที่ทางเดินยุทธศาตร์ของ แกนนำชุมชน เทศบาลสนับสนุน งบประมาณอย่างเต็มที่ เครือข่ายชุมชน วัด โรงเรียนมีบทบาทในการ ดำเนินงานด้านสุขภาพ ใช้แผนที่ยุทธสาสตร์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตำบลจัดการสุขภาพตะลุง ปี 2554

กระท้อนตะลุงฟุ้งเฟื่อง ลือเลื่อง พิพิธภัณฑ์เรือ คำขวัญลพบุรี วังนารายณ์คู่บ้าน ศาลพระกาฬคู่เมือง ปรางค์สามยอดลือเลื่อง เมืองแห่งดินสอพอง เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์เกริกก้อง แผ่นดินทองสมเด็จพระนารายณ์ คำขวัญตะลุง กระท้อนตะลุงฟุ้งเฟื่อง ลือเลื่อง พิพิธภัณฑ์เรือ เหลือเชื่อต้นยางยักษ์ แหล่ง อนุรักษ์หนองอีโป้ง

ข้อมูลทั่วไปสอ. ตะลุง ประชากร: ชาย 2,604 คน หญิง 2,980 คน รวม 5,584 คน ประชากร: ชาย 2,604 คน หญิง 2,980 คน รวม 5,584 คน หมู่บ้าน : 13 หมู่บ้าน หอกระจายข่าว 13 แห่ง วิทยุชุมชน 1 แห่ง อสม. 111 คน โรงเรียน 5 โรง วัด 5 แห่ง สภาพทางเศรษฐกิจ : อาชีพหลัก เกษตรกรรม (ทำนา, ทำสวน ) ร้อยละ 60 อาชีพรอง รับจ้าง ร้อยละ 20 และร้อยละ 2 มีอาชีพรับ ราชการและค้าขาย แหล่งท่องเที่ยว : พิพิธภัณฑ์เรือพื้นบ้าน วัดยาง ณ รังสี สถานีอนามัย 2 แห่ง มีเจ้าหน้าที่ 5 คน ลูกจ้าง 1 คน

เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานใน รพ.สต.ตะลุง

การพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพตะลุง *** คน = เครือข่าย - ผู้นำชุมชน,อสม.,อบต,ชมรม สร้างสุขภาพ, นักเรียน, อย.น้อย, ชมรมผู้สูงอายุ,หมอดิน *** ความรู้ -ภาครัฐ,ภาคเอกชน,ประชาชน ,พัฒนากร,เกษตรตำบล,ครูกศน. -***ทุน - สปสช. -กองทุนตำบล -กองทุนผู้ป่วยโรคเอดส์ - ประชาชน

การเชื่องโยงทั้ง3กลุ่ม 1.สำรวจข้อมูลและค้นหาปัญหา 2.ประชุมประชาคมพบปะเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลและร่วมกันหา แนวทางแก้ไข 3.จัดทำแผนงานโครงการเสนอกองทุนตำบลหรือหน่วยงาน ต่างๆในชุมชนเพื่อหางบประมาณในการดำเนินงานแก้ไข 4.ดำเนินงานแก้ไขปัญหาตามโครงการ 5.สรุปผลการดำเนินงานและประเมินผล

การประเมินศักยภาพตำบลจัดการสุขภาพตะลุง 1.เครือข่ายที่เข้าร่วมทีมอย่างน้อย 3ภาคส่วน ภาครัฐ ภาคท้องถิ่น ภาคประชาชน

การสร้างและพัฒนาทีมสุขภาพตำบล

1.พูดคุยประสานงาน/ ประชาสัมพันธ์ การพัฒนา 4 ขั้นตอน 1.พูดคุยประสานงาน/ ประชาสัมพันธ์

2.จัดประชุมชี้แจงทำคามเข้าใจ /ระดมความคิดเห็น 2.จัดประชุมชี้แจงทำคามเข้าใจ /ระดมความคิดเห็น

3.การคัดเลือกทีมงานจัดการสุขภาพ

4.จัดตั้งคณะทำงาน

กระบวนการทำงาน ของทีมสุขภาพตำบลตะลุง กระบวนการทำงาน ของทีมสุขภาพตำบลตะลุง

1.การศึกษาวิเคราะห์ชุมชน

2.การวางแผนการทำงาน

3.การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

การระดมทรัพยากรและทุน

การดำเนินงานกิจกรรมตามแผน

แผนงานและโครงการของตำบลตะลุง ลำดับ ชื่อโครงการ กลุ่มเป้าหมาย งบประมาณ ๑ "แบ่งปันรอยยิ้มสู่ผู้ป่วยเรื้อรัง" กลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง จำนวน ๒๒๒ คนในเขตตำบลตะลุง ๑๙,๙๘๐ บาท ๒ "ห่วงใยใส่ใจผู้สูงอายุ" กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน ๙๑๙ คน ๔๕,๕๐๐ บาท ๓ "ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชนแบบครบวงจร" ๑. ผู้พิการรายใหม่และรายเก่าจำนวน ๓๘ คน ๒๒,๒๘๐ บาท   ๒. ญาติหรือผู้ที่ดูแลผู้ป่วยพิการจำนวน ๓๘ คน ๓. แกนนำสุขภาพในชุมชนและอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ละ ๒ คนจำนวน ๒๖ คน ๔ "หญิงตะลุงยุคใหม่ต้านภัยมะเร็ง หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓๐-๖๐ ปี จำนวน ๑,๑๓๙ คน ๒๒,๕๐๐ บาท ๕ "ศูนย์สามวัยสายใยรักสู่ครอบครัวอบอุ่น ๑ กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ หลังคลอดจำนวน ๓๐ คน ๗๐,๖๗๕ บาท ๒ กลุ่มวัยแรงงาน หมู่ละ ๓ คนจำนวน ๖๕ คน ๓. กลุ่มผู้สูงอายุ หมู่ละ ๑๐ คนจำนวน ๑๓๐ คน ๖ "อบรมผู้นำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพ" โรงเรียนในเขตตำบลตะลุงจำนวน ๕ โรงเรียน ๑๐,๐๐๐ บาท ๗ "กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ" เครือข่ายควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดต่อในตำบลตะลุง จำนวน ๑๔๐ คน ๑๒,๖๐๐ บาท ๘ "เฝ้าระวังและค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในชุมชน" ผู้นำชุมชน/อบต/อสม. และประชาชน จำนวน ๑๔๐ คน ๙ "ควบคุมและป้องกันโรคในชุมชน" อสม./ผู้นำนักเรียน จำนวน ๑๕๘ คน ๑๔,๒๒๐ บาท ๑๐ "ควบคุมสารปนเปื้อนในอาหาร โดยชุมชนเพื่อชุมชน" ร้านชำ ร้านแผงลอย จำนวน ๓๓ ร้าน อสม.111 คน ๙,๔8๐ บาท

กิจกรรมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

หมู่บ้านจัดการสุขภาพแผนเกณฑ์ ทั้ง 13 หมู่

ระบบเฝ้าระวังด้านสุขภาพ และการจัดการในภาวะวิกฤต มีเครือข่ายเฝ้าระวังจัดการสุขภาพ เช่น SRRT, MR.TB,เครือข่ายนมแม่,ชมรมจิต อาสา

โรงเรียน อสม.ตำบลตะลุง

ข้อตกลง/มาตรการทางสังคมด้านสุขภาพ

สวัสดี