ตำบลจัดการสุขภาพตะลุง ปี 2554
กระท้อนตะลุงฟุ้งเฟื่อง ลือเลื่อง พิพิธภัณฑ์เรือ คำขวัญลพบุรี วังนารายณ์คู่บ้าน ศาลพระกาฬคู่เมือง ปรางค์สามยอดลือเลื่อง เมืองแห่งดินสอพอง เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์เกริกก้อง แผ่นดินทองสมเด็จพระนารายณ์ คำขวัญตะลุง กระท้อนตะลุงฟุ้งเฟื่อง ลือเลื่อง พิพิธภัณฑ์เรือ เหลือเชื่อต้นยางยักษ์ แหล่ง อนุรักษ์หนองอีโป้ง
ข้อมูลทั่วไปสอ. ตะลุง ประชากร: ชาย 2,604 คน หญิง 2,980 คน รวม 5,584 คน ประชากร: ชาย 2,604 คน หญิง 2,980 คน รวม 5,584 คน หมู่บ้าน : 13 หมู่บ้าน หอกระจายข่าว 13 แห่ง วิทยุชุมชน 1 แห่ง อสม. 111 คน โรงเรียน 5 โรง วัด 5 แห่ง สภาพทางเศรษฐกิจ : อาชีพหลัก เกษตรกรรม (ทำนา, ทำสวน ) ร้อยละ 60 อาชีพรอง รับจ้าง ร้อยละ 20 และร้อยละ 2 มีอาชีพรับ ราชการและค้าขาย แหล่งท่องเที่ยว : พิพิธภัณฑ์เรือพื้นบ้าน วัดยาง ณ รังสี สถานีอนามัย 2 แห่ง มีเจ้าหน้าที่ 5 คน ลูกจ้าง 1 คน
เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานใน รพ.สต.ตะลุง
การพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพตะลุง *** คน = เครือข่าย - ผู้นำชุมชน,อสม.,อบต,ชมรม สร้างสุขภาพ, นักเรียน, อย.น้อย, ชมรมผู้สูงอายุ,หมอดิน *** ความรู้ -ภาครัฐ,ภาคเอกชน,ประชาชน ,พัฒนากร,เกษตรตำบล,ครูกศน. -***ทุน - สปสช. -กองทุนตำบล -กองทุนผู้ป่วยโรคเอดส์ - ประชาชน
การเชื่องโยงทั้ง3กลุ่ม 1.สำรวจข้อมูลและค้นหาปัญหา 2.ประชุมประชาคมพบปะเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลและร่วมกันหา แนวทางแก้ไข 3.จัดทำแผนงานโครงการเสนอกองทุนตำบลหรือหน่วยงาน ต่างๆในชุมชนเพื่อหางบประมาณในการดำเนินงานแก้ไข 4.ดำเนินงานแก้ไขปัญหาตามโครงการ 5.สรุปผลการดำเนินงานและประเมินผล
การประเมินศักยภาพตำบลจัดการสุขภาพตะลุง 1.เครือข่ายที่เข้าร่วมทีมอย่างน้อย 3ภาคส่วน ภาครัฐ ภาคท้องถิ่น ภาคประชาชน
การสร้างและพัฒนาทีมสุขภาพตำบล
1.พูดคุยประสานงาน/ ประชาสัมพันธ์ การพัฒนา 4 ขั้นตอน 1.พูดคุยประสานงาน/ ประชาสัมพันธ์
2.จัดประชุมชี้แจงทำคามเข้าใจ /ระดมความคิดเห็น 2.จัดประชุมชี้แจงทำคามเข้าใจ /ระดมความคิดเห็น
3.การคัดเลือกทีมงานจัดการสุขภาพ
4.จัดตั้งคณะทำงาน
กระบวนการทำงาน ของทีมสุขภาพตำบลตะลุง กระบวนการทำงาน ของทีมสุขภาพตำบลตะลุง
1.การศึกษาวิเคราะห์ชุมชน
2.การวางแผนการทำงาน
3.การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การระดมทรัพยากรและทุน
การดำเนินงานกิจกรรมตามแผน
แผนงานและโครงการของตำบลตะลุง ลำดับ ชื่อโครงการ กลุ่มเป้าหมาย งบประมาณ ๑ "แบ่งปันรอยยิ้มสู่ผู้ป่วยเรื้อรัง" กลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง จำนวน ๒๒๒ คนในเขตตำบลตะลุง ๑๙,๙๘๐ บาท ๒ "ห่วงใยใส่ใจผู้สูงอายุ" กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน ๙๑๙ คน ๔๕,๕๐๐ บาท ๓ "ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชนแบบครบวงจร" ๑. ผู้พิการรายใหม่และรายเก่าจำนวน ๓๘ คน ๒๒,๒๘๐ บาท ๒. ญาติหรือผู้ที่ดูแลผู้ป่วยพิการจำนวน ๓๘ คน ๓. แกนนำสุขภาพในชุมชนและอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ละ ๒ คนจำนวน ๒๖ คน ๔ "หญิงตะลุงยุคใหม่ต้านภัยมะเร็ง หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓๐-๖๐ ปี จำนวน ๑,๑๓๙ คน ๒๒,๕๐๐ บาท ๕ "ศูนย์สามวัยสายใยรักสู่ครอบครัวอบอุ่น ๑ กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ หลังคลอดจำนวน ๓๐ คน ๗๐,๖๗๕ บาท ๒ กลุ่มวัยแรงงาน หมู่ละ ๓ คนจำนวน ๖๕ คน ๓. กลุ่มผู้สูงอายุ หมู่ละ ๑๐ คนจำนวน ๑๓๐ คน ๖ "อบรมผู้นำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพ" โรงเรียนในเขตตำบลตะลุงจำนวน ๕ โรงเรียน ๑๐,๐๐๐ บาท ๗ "กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ" เครือข่ายควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดต่อในตำบลตะลุง จำนวน ๑๔๐ คน ๑๒,๖๐๐ บาท ๘ "เฝ้าระวังและค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในชุมชน" ผู้นำชุมชน/อบต/อสม. และประชาชน จำนวน ๑๔๐ คน ๙ "ควบคุมและป้องกันโรคในชุมชน" อสม./ผู้นำนักเรียน จำนวน ๑๕๘ คน ๑๔,๒๒๐ บาท ๑๐ "ควบคุมสารปนเปื้อนในอาหาร โดยชุมชนเพื่อชุมชน" ร้านชำ ร้านแผงลอย จำนวน ๓๓ ร้าน อสม.111 คน ๙,๔8๐ บาท
กิจกรรมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
หมู่บ้านจัดการสุขภาพแผนเกณฑ์ ทั้ง 13 หมู่
ระบบเฝ้าระวังด้านสุขภาพ และการจัดการในภาวะวิกฤต มีเครือข่ายเฝ้าระวังจัดการสุขภาพ เช่น SRRT, MR.TB,เครือข่ายนมแม่,ชมรมจิต อาสา
โรงเรียน อสม.ตำบลตะลุง
ข้อตกลง/มาตรการทางสังคมด้านสุขภาพ
สวัสดี