กองจัดการ กรมกำลังพลทหารบก การชี้แจง กองจัดการ กรมกำลังพลทหารบก
พ.อ.วีระ บรรทม ผอ.กองจัดการ กพ.ทบ.
หัวข้อการชี้แจง ๑. โครงการเกษียณอายุราชการก่อนกำหนด ๒. การทดแทนการสูญเสีย ตามมาตรการรักษายอดกำลังพล ๓. การทำหน้าที่นายทหารสัญญาบัตรน้อยกว่า ๑ ปี ๔. แนวทางการทำหน้าที่นายทหารสัญญาบัตรก่อนการคัดเลือกเลื่อนฐานะ ๕. การเลื่อนฐานะเป็นนายทหารสัญญาบัตร เทียบเคียงกับหน่วยงานสังกัด ตร.
โครงการเกษียณอายุราชการก่อนกำหนด
รูปแบบโครงการเกษียณอายุราชการก่อนกำหนด ๑. โครงการให้ น.ชั้นนายพลเกษียณอายุราชการ ก่อนกำหนดตามมติสภากลาโหม (ครั้งที่ ๒/๒๕๓๙) ๒. โครงการเกษียณอายุราชการก่อนกำหนด ตามมติ คณะกรรมการข้าราชการทหาร (กขท.)(ครั้งที่ ๗/๔๒) ๓. โครงการเกษียณอายุราชการก่อนกำหนด ตามมติคณะรัฐมนตรี (๑๐ เม.ย.๕๕)
โครงการให้ น. ชั้นนายพล เกษียณอายุ ราชการก่อนกำหนด ตามมติสภากลาโหม (รับยศอย่างเดียว) เฉพาะนายทหาร “ชั้นนายพล” มีเวลาราชการ เหลือ ๑ ปี ขึ้นไป ส่งรายชื่อภายใน ๓ วันทำการ หลังมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ วาระการปรับย้ายของทุกปี
๒. โครงการเกษียณอายุราชการก่อนกำหนดตามมติ คณะกรรมการข้าราชการทหาร (กขท.) (รับยศอย่างเดียว) ทุกชั้นยศ ต้องมีอายุตั้งแต่ ๔๕ ปีขึ้นไป หรือมีเวลารับราชการ ตั้งแต่ ๒๕ ปีขึ้นไป (ไม่รวมเวลาราชการทวีคูณ) มีเวลารับราชการ เหลือ ๑ ปีขึ้นไป ลาออก ๒ ต.ค.๕๕ เป็นปีสุดท้าย
๓. โครงการเกษียณอายุราชการก่อนกำหนดตามมติ คณะรัฐมนตรี (รับยศและเงินก้อน) ทุกชั้นยศ ต้องมีอายุตั้งแต่ ๔๕ ปีขึ้นไป หรือมีเวลารับราชการ ตั้งแต่ ๒๕ ปีขึ้นไป (ไม่รวมเวลาราชการทวีคูณ) มีเวลาราชการเหลือ ๒ ปีขึ้นไป ลาออก ๑ ต.ค.๕๕ เป็นปีสุดท้าย
สรุปยอดกำลังพลเข้าร่วมโครงการเกษียณอายุราชการก่อนกำหนดของ กห. ปีงบประมาณ นายทหารสัญญาบัตร นายทหารประทวน รวม 2547 54 49 103 2548 101 202 2550 147 409 556 2551 507 468 975 2552 294 392 686 2553 978 2,750 3,728 2554 1,181 3,290 4,471 2555 761 4630 5,391 2556 650 2180 2,830 9
การบรรจุทดแทนการสูญเสีย ตามมาตรการรักษายอดกำลังพล
มาตรการรักษายอดกำลังพล ทบ. ปีงบประมาณ ๕๕ - ๕๙ มาตรการรักษายอดกำลังพล ทบ. ปีงบประมาณ ๕๕ - ๕๙ เดิม ใหม่ ๑. ไม่มีการทดแทนการสูญเสีย น. ๑. ทดแทนการสูญเสียให้ทุกประเภท โดยการ ทดแทน น. ให้หน่วยที่สูญเสียโดยการเลื่อนฐานะ ฯ และทดแทน ส. ที่เลื่อนฐานะในมาตรการนี้ ๒. ไม่ครอบคลุม การย้ายออกนอก ทบ. ไปหน่วยงานอื่นใน กห. เช่น บก.ทท., สป. รวมถึงไม่ครอบคลุมการเกษียณอายุราชการ ๒. ทดแทนให้ทุกประเภท ดังนี้ เสียชีวิต, ลาออก, ให้ออก, ปลดออก, โอนออก, ปรับย้ายออกนอก ทบ. (ใน กห. และนอก กห.) ยังคงไม่ครอบคลุม การเกษียณอายุราชการ ๓. ทดแทนให้หน่วยถึงระดับ (กองพัน/กอง/กองร้อยอิสระ) ในสัดส่วน ๑: ๑ ๓. ทดแทนให้หน่วยในสัดส่วน ๑: ๑ และงบประมาณ ส่วนที่เหลือ เข้าคณะกรรมการเพื่อพิจารณาให้หน่วย ที่ขาดแคลนต่อไป การทดแทนการสูญเสียกำลังพล โดยใช้งบประมาณได้อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด
การทำหน้าที่ น. น้อยกว่า ๑ ปี ของ จ.ส.อ. เลื่อนฐานะ
ทบ. ได้เสนอแนวทางการลดเวลาการทำหน้าที่ น. ให้เหลือน้อยกว่า ๑ ปี ให้ สม. พิจารณาแล้ว อยู่ในขั้นตอน สม. รวบรวมข้อมูลจากทุกเหล่าทัพ เพื่อพิจารณาต่อไป
แนวทางการทำหน้าที่นายทหารสัญญาบัตรก่อนการคัดเลือกเลื่อนฐานะ
การให้นายทหารประทวนทำหน้าที่นายทหาร ฯ ก่อนการคัดเลือก ในอัตราต่ำสุดของทุกหน่วยที่เป็นอัตราว่าง ผบ.หน่วยระดับกองพลหรือเทียบเท่าออกคำสั่ง ฯ ผ่านการคัดเลือกให้เลื่อนฐานะ ฯ ในหน่วยตามลำดับเร่งด่วนที่ ทบ. กำหนด
การเลื่อนฐานะเป็นนายทหารสัญญาบัตร เทียบเคียงกับหน่วยงานสังกัด ตร.
ตำรวจชั้นประทวนยศ ด.ต.อายุ ๕๓ ปีขึ้นไป เป็นข้าราชการตำรวจชั้นสัญญาบัตร เลื่อนยศได้ไม่เกิน ร.ต.อ. การย้ายไปตำแหน่งใหม่ได้เฉพาะตำแหน่งควบ เมื่อเกษียณอายุตำแหน่งนั้นจะกลายเป็น ผบ.หมู่
การกำหนด ตำแหน่ง / หน้าที่ ความต่าง ทหาร ตำรวจ การกำหนดอัตรา มีอัตราระบุชัดเจน อัตรากำลังตามปริมาณงาน การกำหนด ตำแหน่ง / หน้าที่ มีชื่อตำแหน่งมาก ระบุหน้าที่ชัดเจน มีชื่อตำแหน่ง ๑๓ ชื่อ หน้าที่แบ่งตามกลุ่มสายงาน การปฏิบัติงาน มีสายการบังคับบัญชาชัดเจน การปฏิบัติงานมีอิสระเฉพาะตัว การบริหารอัตรา หน่วยระดับกองพันขึ้นไป ส่วนกลาง การกำหนด อัตราควบ ต้องพิจารณาความเหมาะสม กำหนดได้ง่าย
การดำเนินการในระดับ กห. (ประชุมเมื่อ ๒๑ ส.ค.๕๕) การกำหนดตำแหน่ง ควรพิจารณาตำแหน่งอัตรา จ.(พ.) โดยให้แก้ไข อจย./อฉก. ในลักษณะตำแหน่ง ควบ เช่น จ่ากองพัน/นายทหารธุรการ กองพัน อัตรา จ.ส.อ.(พ.) – ร.อ. นขต.กห./เหล่าทัพ กำหนดตำแหน่ง หน่วยยุทธการ แก้ไข อจย. – อฉก. การกำหนดหลักเกณฑ์วิธีการคัดเลือก กำหนดคุณสมบัติ อายุ ? กำหนดวิธีการประเมินเข้าสู่ตำแหน่ง หน่วยสายกำลังพล การกำหนดหลักสูตรอบรม กำหนดเนื้อหาหลักสูตร งบประมาณ วิธีการอบรม การบริหารจัดการตำแหน่ง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการบริหารจัดการตำแหน่งและการแต่งตั้ง