ลักษณะการประสบภัย น้ำหลาก / น้ำป่า – แรง เร็ว ใช้เวลาไม่นาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
Advertisements

แนะนำคู่มือเพื่อการป้องกันและดูแลปัญหาการฆ่าตัวตายสำหรับ อสม
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
พายุ แกมี ได้สลายตัวเป็นร่องความกดอากาศต่ำ และยังคงพาดผ่านจังหวัดเพชรบุรี ส่งผลให้มีฝนตกถึงวันที่ 10 ตค. 55 สำหรับพายุที่ก่อตัวขึ้นใหม่มีทิศทางเคลื่อนตัวไปทิศเหนือ.
ไม่ต้องจัดหา ต้องดูด้านคุณภาพ เป็นการสร้างเสริมปกป้อง สุขภาพของสาธารณะ.
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
29-2 ธันวาคม 2553 โรงแรมกิจตรงวิลล์ รีสอร์ท อุบลราชธานี
พลตรี นพดล พิศวง รองผอ.รมน.สระบุรี
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
สรุปการประชุม เขต 10.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ระบบเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดจังหวัดราชบุรี โดยฝ่ายอำนวยการ ศตส.จ.รบ.
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ผบ. ปภ. ชาติ ( รมว. มท.) หรือ ผอ. กลาง ( อ. ปภ.) ผอ. จังหวัด ( ผว. จว.) แผน ปภ. จว./ แผนปฏิบัติการป้องกัน และแก้ไขปัญหา ภัยแล้ง ก่อนเกิดเหตุ ขณะเกิดเหตุ
กลุ่ม A3 ข้าวนก.
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ประธาน นายสุริน รักษาแก้ว เลขา คุณสุนันทา รอดสม ผู้นำเสนอ นายเบญพล ใหม่ชู
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา.
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
หน่วย เคลื่อนที่เร็ว วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมสถานการณ์ ศัตรูพืชและลดปัญหาการระบาด ได้ทันต่อเหตุการณ์ เป้าหมาย ครอบคลุมพื้นที่การระบาด ศัตรูพืช 76 จังหวัด.
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
โครงการ : ส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการในภาวะภัยพิบัติ(อุทกภัย)
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทบาท อสม. และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม เขตพื้นที่ภาคเหนือ

ลักษณะการประสบภัย น้ำหลาก / น้ำป่า – แรง เร็ว ใช้เวลาไม่นาน น้ำไหล – เส้นทางเดินน้ำ ท่วมซ้ำซาก ท่วม 2-3 วัน น้ำท่วมขัง – ที่ลุ่ม ท่วมนาน

P: Preparedness - การเตรียมความพร้อม สรุปบทเรียน – วิเคราะห์สภาพปัญหา แนวทางของพื้นที่ การซ้อมแผน – กำหนดกิจกรรมและบทบาทภาคี (ปชช., ราชการ, อปท., สื่อมวลชน) การสำรองยา / เวชภัณฑ์ – จัดชุดยาสามัญประจำบ้านและยาที่จะใช้ การเตรียมภาคประชาชน – ระบบข้อมูลข่าวสาร ช่องทางการสื่อสาร การแจ้งเตือน ความรู้และวิธีการปฏิบัติตัวเมื่อเกิดภัย

P: Prevention - การป้องกัน ระบบเฝ้าระวัง – ครอบคลุมพื้นที่เสี่ยง, ตามระบบ/โครงสร้างราชการและท้องถิ่นที่มีอยู่แล้ว ข้อมูล – ปริมาณน้ำ, สภาพอากาศ, ความเสี่ยง และความเคลื่อนที่เกี่ยวข้อง การสื่อสารและการแจ้งเตือนภัย – สวท., โทรศัพท์, วิทยุชุมชน, หอกระจายข่าว แต่งตั้งคณะทำงาน - กำหนดบทบาทหน้าที่ของแต่ละฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

R: Reaction - การช่วยเหลือ ระบบการช่วยเหลือ – โดยใช้สื่อท้องถิ่นและสวท.แจ้งข่าวสารและความต้องการ การให้ความช่วยเหลือ ชมรม / สมาคมอสม. เข้าถึงพื้นที่, เครือข่ายแจ้งภัยระดับหมู่บ้าน, ระดมเงินและสิ่งของ, เรี่ยไร / ขอสนับสนุนจากแหล่งทุน / เครือข่าย ศูนย์วิชาการ – สนับสนุนสิ่งของเครื่องใช้, ประเมินและฟื้นฟูจิตใจ สิ่งของ เครื่องใช้ในยามประสบภัย – อาหารแห้ง, ยา, ไฟฉาย, เทียนไข, เรือ, ชูชีพ, รองเท้าบูท

R: Recovery - การฟื้นฟู การประเมินและฟื้นฟูจิตใจ ขวัญกำลังใจ – เงิน, สิ่งของเครื่องใช้ ที่พักพิงและอุปกรณ์ดำรงชีพ การเยี่ยมเยือน ประสานงาน – ขอความช่วยเหลือจากหน่วยงาน/องค์กรที่เกี่ยวข้อง

ประสบการณ์ทำให้เกิดการเรียนรู้ ความเดือดร้อนแตกต่างกัน : ความต้องการความช่วยเหลือก็ต่างกัน ลักษณะภัยต่างกัน : การเตรียมพร้อมก็ไม่เหมือนกัน ความช่วยเหลือไม่เหมาะสม(มากไป น้อยไป ไม่ตรงความต้องการ ไม่ทันเวลา ขาดการจัดการที่ดี) : เป็นการซ้ำเติมความทุกข์ การจัดการตนเองและระบบเครือข่ายในพื้นที่ จะสร้างความพึงพอใจได้มากกว่า

ความต้องการสนับสนุนจากส่วนกลาง กองทุนสวัสดิการ อสม. (ไม่ติดระเบียบราชการ) ยา / เวชภัณฑ์ / งบประมาณ ให้ อสม.ไปดูแลประชาชน เรือ / เสื้อชูชีพ / รองเท้าบูท / วิทยุสื่อสาร ให้ระดับหมู่บ้าน ชุดผลิตน้ำดื่มในภาวะฉุกเฉิน กิจกรรมฟื้นฟูจิตใจ / ความบันเทิงระหว่างประสบภัย กองทุนช่วยเหลือ(เฉพาะด้าน) จากศูนย์ / กอง สช.ฯ การซ้อมแผน : ปรับเรื่องไข้หวัดฯ เป็นเรื่อง “ภัยสุขภาพ” สนับสนุนการตั้งเครือข่ายระดับพื้นที่ (หมู่บ้าน-ภาค) เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลสภาพน้ำ ความต้องการฯ และประสานงานกับโครงสร้างภาครัฐที่มีอยู่แล้ว

ขอขอบคุณที่ให้ความสนใจ