จังหวัดปทุมธานี นำเสนอโดย... นายพินิจ บุญเลิศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลผลไม้
Advertisements

นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
ชลบุรี ว่าง นายชิดชัย อังคะไวมงคล
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
แผนงานย่อย “น้ำมันทอดซ้ำเสื่อมสภาพ”
ปรับโครงสร้างการผลิตข้าว
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
Royal project and Government project พระบิดาแห่งชาวโคนมไทย.
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวน ยุทธศาสตร์จังหวัด จังหวัดบึง กาฬ 1.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
รายงานผลการปฏิบัติงาน เดือนมกราคม 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
แนวทางการนำเสนอข้อมูลต่อ รวอ. ในวันที่ 2 พฤศจิกายน 2560
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
โครงการเพิ่มศักยภาพด้านการตลาดผลิตภัณฑ์ไหมนครชัยบุรินทร์ในกลุ่มอาเซียน
ภายใต้ร่มพระบารมี เพื่อการพัฒนาการ เกษตรอย่างยั่งยืน
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
การวิเคราะห์ ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
(โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การวิเคราะห์ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัดปทุมธานี
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกษตร
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
โครงการ “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่)
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จังหวัดปทุมธานี นำเสนอโดย... นายพินิจ บุญเลิศ ชี้แจงงบประมาณต่อคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 สภานิติบัญญัติแห่งชาติ แผนงานบูรณาการส่งเสริมการพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ จังหวัดปทุมธานี นำเสนอโดย... นายพินิจ บุญเลิศ ผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี

จังหวัดปทุมธานี (0.023% ของพื้นที่ภาคกลาง) (45% ของพื้นที่จังหวัด)  พื้นที่ 953,600 ไร่ (0.023% ของพื้นที่ภาคกลาง)  พื้นที่เกษตรกรรม 432,700 ไร่ (45% ของพื้นที่จังหวัด)  พื้นที่ชลประทาน 683,000 ไร่ (72% ของพื้นที่จังหวัด)  เขตการปกครอง 7 อำเภอ 60 ตำบล 494 หมู่บ้าน 1 อบจ. 1 เทศบาลนคร 9 เทศบาลเมือง 17 เทศบบาลตำบล 37 อบต.  ประชากร 1,129,115 คน  ประชากรแฝง 342,996 คน

Gross Provincial Product : GPP 346,723 ภาคการเกษตร 1.74% ภาคการค้าและบริการ 19.19% 342,103 327,641 ภาคอุตสาหกรรม 53.21% 311,696 298,687 No. Province Bath 1. Rayong 1,009,496 2. Chon Buri 548,877 3. Phra NakhonSri Ayuthaya 460,223 4. Chachoengsao 433,400 5. Samut Sakhon 382,679 6. Prachin Buri 378,669 7. Phuket 357,498 8. Samut Prakan 337,026 9. Saraburi 330,837 10. Nakhon Pathom 294,858 11. Phang-nga 237,971 12. Pathum Thani 235,596 13. Krabi 234,436 14. Ratchaburi 216,064 15. Chanthaburi 205,522 No. Province Millions of Bath 1. Chon Buri 912,498 2. Rayong 897,117 3. Samut Prakan 691,888 4. Phra Nakhon Sri Ayuthaya 399,176 5. Samut Sakhon 366,207 6. Phathum Thani 346,723 7. Chachoengsao 340,913 8. Nakhon Pathom 312,455 9. Nonthaburi 284,726 10. Nakhon Ratchasima 263,578 GPP Per Capita 2016 GPP 2016 PathumThani 6th of Thailand PathumThani 12th of Thailand

สถานที่กำจัดขยะมูลฝอยของจังหวัดปทุมธานี การจัดการขยะมูลฝอย สถานที่กำจัดขยะมูลฝอยของจังหวัดปทุมธานี ปทุมธานี 271 ตัน (16%) อยุธยา 984 ตัน (60%) สระบุรี 348 ตัน (21%)

ผลการเบิกจ่ายงบประมาณโครงการตามแผนปฏิบัติราชการจังหวัดปทุมธานี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ข้อมูล ณ วันที่ 6 กรกฎาคม 2561 หน่วย : ล้านบาท 417.35 246.20 171.15 134.57 80.30 54.26 หน่วย : บาท หมวดรายจ่าย งบประมาณ PO ผลเบิกจ่าย ร้อยละ ปทุมธานี 417,354,700 141,221,906.30 134,565,850.18 32.23 งบลงทุน 246,204,200 115,568,410.30 54,264,995.95 22.02 งบประจำ 171,150,500 25,653,496 80,300,854.23 46.92 พ.ร.บ.โอนงบประมาณ พ.ศ. ... จำนวน 53,340,000 บาท เงินเหลือจ่าย 21,861,400 บาท ผลการเบิกจ่าย ลำดับที่ 48 ของประเทศ

การปรับรูปแบบรายการ/รายละเอียดโครงการ ปัญหา และแนวทางการแก้ไขที่สำคัญในการดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ปัญหา แนวทางแก้ไข 1 ความพร้อม (พื้นที่/แบบ)  ตรวจสอบความพร้อมพื้นที่ก่อนพิจารณาจัดลำดับความสำคัญโครงการ  จัดส่งรายละเอียด/แบบแปลนให้หน่วยงานที่มีความชำนาญเฉพาะด้านตรวจสอบ เช่น สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด เป็นต้น 2 ความซ้ำซ้อน  จัดทำปฏิทิน/กรอบระยะเวลาพิจารณาการขอโอนเปลี่ยนแปลงของ ก.บ.จ. 3 การปรับรูปแบบรายการ/รายละเอียดโครงการ  แต่งตั้งคณะทำงานติดตามเร่งรัดการดำเนินโครงการ 4 การจัดซื้อจัดจ้าง  ประชุมชี้แจง/อบรมให้ความรู้ระเบียบการจัดซื้อจัดจ้าง  จัดทำปฏิทินและกระบวนการดำเนินงานล่วงหน้าก่อนเริ่มปีงบประมาณ

Positioning of Pathum Thani Market City 4.0 Pathum Thani Eco Industrial Town City of University

ปทุมธานี เมืองสิ่งแวดล้อมสะอาด อาหารปลอดภัย แหล่งท่องเที่ยว แผนพัฒนาจังหวัดปทุมธานี 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ปทุมธานี เมืองสิ่งแวดล้อมสะอาด อาหารปลอดภัย แหล่งท่องเที่ยว เรียนรู้ และพักผ่อนหย่อนใจของอาเซียน สังคมอยู่เย็นเป็นสุข Vision 3. เศรษฐกิจเข้มแข็งและเป็นธรรม มีแหล่งงานในพื้นที่ ประชาชนมีงานทำที่มั่นคงและมีรายได้เพียงพอต่อการดำรงชีวิต 1. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้รับการสงวนรักษาไว้ใช้ประโยชน์อย่างยาวนาน คงความอุดมสมบูรณ์ 2. ผลิตภัณฑ์อาหารปลอดภัยได้มาตรฐานและมีศักยภาพเชิงธุรกิจ 4. ประชาชนมีสุขภาพจิตใจแข็งแรง ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งที่อยู่อาศัยสะอาด สวยงาม ปลอดภัย ภายใต้สังคมประชาธิปไตยที่มีธรรมาภิบาล Goals 1. สถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์อุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry) (200 แห่ง) 2. ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะ/น้ำเสีย (200 ชุมชน) 1. แปลงฟาร์มที่ผ่านการประเมินความพร้อมเบื้องต้นของจำนวนแปลงฟาร์มที่สมัคร (PGAP) (ร้อยละ 100) 2. สถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์ร้านอาหารปลอดภัย/ตลาดสดน่าซื้อ (ร้อยละ 100) 1. รายได้จากการท่องเที่ยว (ร้อยละ 20) 2. นักท่องเที่ยว/นักทัศนาจร (ร้อยละ 20) 3. รายได้จากการจำหน่าย OTOP ผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม (ร้อยละ 20) 1. อัตราคดีอุจฉกรรจ์ต่อแสนประชากรลดลง (ร้อยละ 10) 2. หมู่บ้าน/ชุมชนเข้มแข็งตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงเพิ่มขึ้น (28 หมู่บ้าน/ชุมชน) KPI ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 Strategy ส่งเสริมการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วม เสริมสร้างความเข้มแข็ง กระบวนการผลิตและการแปรรูปสินค้าเกษตรและอาหารให้มีความปลอดภัยอย่างครบวงจร พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว จัดกิจกรรมการท่องเที่ยว และการตลาดเพื่อสร้างอาชีพและรายได้ให้กับประชาชนในพื้นที่ ยกระดับการจัดสวัสดิการสังคม และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานให้ทั่วถึง เพื่อสร้างความเข้มแข็งและพัฒนาชีวิตชุมชน สร้างระบบและกลไกในการควบคุมเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมตั้งแต่ระดับชุมชน ส่งเสริมอุตสาหกรรมสะอาด ส่งเสริมการบริหารจัดการขยะอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวท้องถิ่นที่สำคัญ ส่งเสริมให้เกิดการสร้างมูลค่าเพิ่มในแหล่งท่องเที่ยวและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริมการท่องเที่ยวจังหวัดปทุมธานี ส่งเสริมกิจกรมการท่องเที่ยวตามประเพณี ส่งเสริมบริโภคปลอดภัย เพิ่มขีดความสามารถเชิงธุรกิจของผู้ประกอบการ และสถาบันเกษตรกร 1. พัฒนาชุมชนเข้มแข็งด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม 2. พัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนเปราะบาง Strategic

GPP Top 5 of Thailand สังคมอยู่เย็นเป็นสุข ความมั่นคง ความมั่งคั่ง จุดเน้นการพัฒนาจังหวัดปทุมธานี ปทุมธานี เมืองสิ่งแวดล้อมสะอาด อาหารปลอดภัย แหล่งท่องเที่ยว เรียนรู้ และพักผ่อนหย่อนใจของอาเซียน สังคมอยู่เย็นเป็นสุข สิ่งแวดล้อมสะอาด โรงงานอุตสาหกรรม Cleaning Eco Industrial Town แหล่งน้ำ/คลอง Recovering City of Royal Lotus หมู่บ้าน/ชุมชน สถานที่ราชการ Developing อาหารปลอดภัย (Food Safety) ข้าวหอมปทุม GAP มูลค่า GAP ภาคการเกษตรเพิ่มขึ้นร้อยละ 3 ปลาดุกบิ๊กอุย Organic พืชผัก GPP Top 5 of Thailand ผลไม้ : ทุเรียน : กล้วยหอม Value Added แหล่งท่องเที่ยว เรียนรู้/พักผ่อนของอาเซียน พิพิธภัณฑ์/ประวัติศาสตร์ 18 แห่ง Standard Landmark Service นักท่องเที่ยว เพิ่มขึ้น 5% สนามกอล์ฟ 12 แห่ง Advertising รายได้จากการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น 5% ประเพณี/ วัฒนธรรมมอญ Event ท่องเที่ยวเชิงเกษตร (สวนผลไม้,สวนดอกไม้,เกษตรอินทรีย์) สังคมอยู่เย็นเป็นสุข ความมั่นคง ความมั่งคั่ง ความยั่งยืน

ภาพรวมงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 จังหวัดปทุมธานี รวม 11 โครงการ งบประมาณรวม 276,538,300 บาท ยุทธศาสตร์ที่ 1 : ส่งเสริมการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมเพื่อให้ปทุมธานีเป็นเมืองสิ่งแวดล้อมสะอาด ยุทธศาสตร์ที่ 2 : เสริมสร้างความเข้มแข็งกระบวนการผลิตและการแปรรูปสินค้าเกษตรและอาหารให้มีความปลอดภัยอย่างครบวงจร ยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวจัดกิจกรรมการท่องเที่ยว และการตลาดเพื่อสร้างอาชีพและรายได้ให้กับประชาชนในพื้นที่ ยุทธศาสตร์ที่ 4 : ยกระดับการจัดสวัสดิการสังคม และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานให้ทั่วถึง เพื่อสร้างความเข้มแข็งและพัฒนาชีวิตชุมชน 1 โครงการ 9,986,900 บาท 3 โครงการ 32,406,100 บาท 2 โครงการ 46,000,000 บาท 5 โครงการ 191,145,300 บาท คก.1 พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภค (งบฯ 83,218,500 บาท) คก.1 บูรณาการบริหารจัดการขยะจังหวัดปทุมธานี (งบฯ 9,986,900 บาท) คก.1 ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (งบฯ 10,533,300 บาท) คก.1 ส่งเสริมให้เกิดการสร้างมูลค่าเพิ่มในแหล่งท่องเที่ยวและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง (งบฯ 17,500,000 บาท) คก.2 ส่งเสริมแปรรูปสินค้าเกษตรและอาหารปลอดภัย (งบฯ 4,730,200 บาท) คก.2 ป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย (งบฯ 62,900,000 บาท) คก.2 ส่งเสริมการท่องเที่ยวจังหวัดปทุมธานี (งบฯ 28,500,000 บาท) คก.3 ส่งเสริมการตลาดการบริโภคสินค้าเกษตรและอาหารปลอดภัย (งบฯ 17,142,600 บาท) คก.3 บูรณาการป้องกัน ปราบปราม และแก้ไขปัญหายาเสพติด (งบฯ 18,465,900 บาท) คก.4 เสริมสร้างความสามัคคี ครอบครัวอบอุ่น และมีคุณภาพชีวิตที่ดี (งบฯ 9,413,900 บาท) คก.5 การเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ (งบฯ 17,147,000 บาท)

ยุทธศาสตร์ภาคกลาง ชุดโครงการ แผนผังแสดงความเชื่อมโยงระหว่างแผนพัฒนาภาคกลาง ในช่วงแผนฯ 12 กับโครงการที่เสนอขอในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ยุทธศาสตร์ภาคกลาง ยุทธศาสตร์ 2 : พัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงระดับนานาชาติและสร้างความเชื่อมโยงเพื่อกระจายท่องเที่ยวทั่วทั้งภาค ยุทธศาสตร์ 3 : ยกระดับการผลิตสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมโดยใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์ ยุทธศาสตร์ 4 : บริหารจัดการน้ำและทรัพยากรธรรมชาติเพื่อแก้ไขปัญหาน้ำท่วม ภัยแล้ง และคงความสมดุลของระบบนิเวศอย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ 6 : พัฒนาความเชื่อมโยงเศรษฐกิจและสังคมกับทุกภาคเพื่อเสริมสร้างเสถียรภาพและลดความเหลื่อมล้ำภายในประเทศ ยุทธศาสตร์จังหวัด ยุทธศาสตร์ 1 ส่งเสริมการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมเพื่อให้ปทุมธานีเป็นเมืองสิ่งแวดล้อมสะอาด ยุทธศาสตร์ 2 เสริมสร้างความเข้มแข็ง กระบวนการผลิตและการแปรรูปสินค้าเกษตรและอาหารให้มีความปลอดภัยอย่างครบวงจร ยุทธศาสตร์ 3 พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว จัดกิจกรรมการท่องเที่ยว และการตลาดเพื่อสร้างอาชีพและรายได้ให้กับประชาชนในพื้นที่ ยุทธศาสตร์ 4 ยกระดับการจัดสวัสดิการสังคม และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานให้ทั่วถึง เพื่อสร้างความเข้มแข็งและพัฒนาชีวิตชุมชน 1. ส่งเสริมให้เกิดการสร้างมูลค่าเพิ่มในแหล่งท่องเที่ยวและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง 1. พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภค 1. บูรณาการบริหารจัดการขยะจังหวัดปทุมธานี 1. ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย 2. ส่งเสริมแปรรูปสินค้าเกษตรและอาหารปลอดภัย 2. ส่งเสริมการท่องเที่ยวจังหวัดปทุมธานี 2. ป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย ชุดโครงการ 3. ส่งเสริมการตลาดการบริโภคสินค้าเกษตรและอาหารปลอดภัย 3. บูรณาการป้องกัน ปราบปราม และแก้ไขปัญหายาเสพติด 4. เสริมสร้างความสามัคคี ครอบครัวอบอุ่น และมีคุณภาพชีวิตที่ดี 5. การเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ

Pathum Thani City of Royal Lotus Pathum Thani