2.ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย : แม่ตายไม่เกิน 17 ต่อแสนประชากร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
สกลนครโมเดล.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการรายงานข้อมูลให้มีความ ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย ปีงบประมาณ กองแผนงาน -
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ตัวชี้วัด 24 ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดตราด
การวิเคราะห์ ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 6
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
2.ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย : การเข้าถึงบริการโรคสมาธิสั้นร้อยละ 9
1.ประเด็น : การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

2.ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย : แม่ตายไม่เกิน 17 ต่อแสนประชากร เข็มมุ่งการดำเนินงาน ปี 2562 ของเขตสุขภาพที่ 12 : ยุทธศาสตร์.........PP&P.................................. 1.ประเด็น แม่ตาย 2.ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย : แม่ตายไม่เกิน 17 ต่อแสนประชากร 4.การดำเนินงานที่ผ่านมา ปี 2561 5. ผลการดำเนินงาน - วิเคราะห์แม่ตาย - ขับเคลื่อนผ่าน MCH B. เขต/ จังหวัด - พัฒนาระบบส่งต่อ - One Province One labour Room (OPOL) - แบ่งโซนสูติแพทย์ดูแลระดับอำเภอ - การดูแลเคสระหว่างอายุรแพทย์และสูติแพทย์ - พัฒนาการคัดกรองความเสี่ยงANC - ประชุมวิชาการร่วมกับราชวิทยาลัยสูติแพทย์ - ทำ PNC - เยี่ยมเสริมพลังและติดตามมาตรฐานโรงพยาบาลแม่และเด็ก - อบรม U/Sแพทย์/พยาบาล ANC 1. มีการวิเคราะห์แม่ตายระดับเขตทุกราย 2. มีประชุมMCH B เขต/ จังหวัด 3.พัฒนาระบบส่งต่อ (พัทลุง/ตรัง มีรอยต่อของระบบส่งต่อทำได้ดี) 4. ดำเนินการ OPOL ใน 3 จว (ปน นธ. ยล.) 5.แบ่งโซนสูติแพทย์ดูแลระดับอำเภอ (ปน.,นธ.,สต.) 6.การดูแลเคสระหว่างอายุรแพทย์และสูติแพทย์ 7.พัฒนาการคัดกรองความเสี่ยงANC ๗ จังหวัด 8.ประชุมวิชาการร่วมกับราชวิทยาลัยสูติแพทย์ ๗ จังหวัด 9.ประชุมเครือข่ายPNC ใน 3 จังหวัด (นธ. ปน. ยล) 10.เยี่ยมเสริมพลังและติดตามมาตรฐานรพ.แม่และเด็ก 5 จว. 11.อบรมU/Sแพทย์/พยาบาลANC ทุกจังหวัด 6. จุดอ่อน/จุดแข็ง/โอกาส/ปัญหาอุปสรรค จุดแข็ง : 1.มีโซนนิ่งสูติแพทย์๓จังหวัด 2. พัทลุง/ตรัง ระบบส่งต่อทำได้ดี จุดอ่อน : ระบบส่งต่อยังไม่ซิมแลท โอกาส : มีคีย์แมน นักวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มอ. หาดใหญ่ อุปสรรค: เครือข่าย ชุมชน ครอบครัว ยังไม่มีความรู้ (HL/HB) 7. มาตรการหลัก/แนวทางการดำเนินเงินงาน/แก้ไขปัญหา ปี 2562 1.พัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่ ในการคัดกรองความเสี่ยงหญิงตั้งครรภ์ / การเสริมสร้าง HL แก่กลุ่มเป้าหมาย 2.ตำบลบูรณาการ 1,000 วันแรกของชีวิต

อัตราส่วนการตายมารดา ปีงบประมาณ 2561 เขตสุขภาพที่ 12 จำแนกรายจังหวัด (ต.ค. 2560 - ก.ค. 2561) นราธิวาส 64.08 ยะลา 49.46 ปัตตานี 81.96 ตรัง พัทลุง 7 ราย อ.หนองจิก 3 ราย อ.มายอ 1 ราย อ.แม่ลาน 1 ราย อ.ทุ่งยางแดง 1ราย อ.ยะรัง 1 ราย 3 ราย อ.นาทวี อ.หาดใหญ่ อ.สะบ้าย้อย จำนวน 24 ราย 3 ราย อ.เมือง สงขลา 20.9 สตูล 104.31 7 ราย อ.สุไหปาดี 1 ราย อ.ตากใบ 2 ราย อ.สุไหงโกลก 1 ราย อ.ศรีสาคร 1 ราย อ.ยี่งอ 1 ราย อ.ระแงะ 1 ราย แหล่งข้อมูลอัตราส่วนมารดาตายไม่เกิน ต่อ แสนการเกิดมีชีพ ปี 2556 – 2560 : ศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา ตาย 21ราย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 4 ราย อ.เมือง 1ราย อ.รามัน 2ราย อ.เบตง 1 ราย  มากกว่า 41 : แสนการเกิดมีชีพ  31 - 40 : แสนการเกิดมีชีพ  21 - 30 : แสนการเกิดมีชีพ  ไม่เกิน20 : แสนการเกิดมีชีพ ที่มา : ศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา ณ วันที่ 20 กรกฎาคม 61

อัตราส่วนการตายมารดา เขตสุขภาพที่ 12 ปีงบประมาณ 58-61  อัตราส่วนการตายมารดา เขตสุขภาพที่ 12 ปีงบประมาณ 58-61 อัตราต่อแสนการเกิดมีชีพ เป้าหมาย ≤ 20 ต่อแสนการเกิดมีชีพ จังหวัด มารดาตาย ปี 2561 สาเหตุ ทางตรง (11) 48.28%, ทางอ้อม (13) 52.72% อัตราต่อแสนการเกิดมีชีพ (3 ราย) (7 ราย) (7 ราย) (24 ราย) (3 ราย) จังหวัด ที่มา : รายงานการตายของมารดา. วันที่ 20 กรกฎาคม 2561, ศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา .

Cause of maternal mortality (N=24 ) Direct cause Indirect cause สาเหตุมารดาตาย ปี 60 ถึง 20 สิงหาคม60 ทางตรง 14 ราย , ทางอ้อม 6 ราย รวม 20 ราย เป็นสาเหตุทางตรง (Direct cause ) จำนวน 14 ราย จาก PPH ร้อยละ 23.80, Amniotic Embolism ร้อยละ14.28 ะ PIH ร้อยละ 19.04และจาก Abortion ร้อยละ 14.28 ส่วนสาเหตุทางอ้อม (Indirect cause ) จำนวน 6 ราย จาก Pneumonia ร้อยละ 19.52 Sepsis Shock ร้อยละ 4.76 อื่น ๆ Barian Tumor ร้อยละ 4.76 Ca Colon ร้อยละ 4.76 Case สุดท้าย ฝากท้องที่ไทย แต่ตั้งใจคลอดมาเลย์ น้ำเดิน เร่งคลอด ตายที่รพ.กัวลาลัมเปอร์ ไม่ได้สรุปสาเหตุ ร้อยละ 4.76 5 ที่มา : ศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา ณ วันที่ 20 กรกฎาคม 61

- ถ่ายทอดแนวทาง (ศูนย์>จังหวัด>อำเภอ) เข็มมุ่งการดำเนินงาน ปี 2562 ของเขตสุขภาพที่ 12 : ยุทธศาสตร์.........P&P.................................. 1.ประเด็น ส่งเสริมการเจริญเติบโตในเด็กปฐมวัย 2.ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย : เด็กปฐมวัยสูงดีสมส่วน ๕๗% 5. ผลการดำเนินงาน 3. สถานการณ์ 2561 (9 เดือน) ณ 31 สิงหาคม 2561 ปี 60 = 45.89๒ 1.มีการถ่ายทอดนโยบาย/แนวทางไปสู่ทุกระดับ 2. นำข้อมูลมาวิเคราะห์, วางแผนการแก้ปัญหาน้อย 3.นำข้อมูลมาวิเคราะห์, วางแผนการแก้ปัญหาน้อย 4. มีการดำเนินการตำบลสูงดีสมส่วนไม่ต่อเนื่อง 5.มีการประเมินศพด.ทุกจังหวัด, แต่ใช้เกณฑ์การประเมินต่างกัน 6. หน่วยบริการยังมีเครื่องมือที่ได้มาตรฐานไม่ครบทุกแห่ง 7. ความครอบคลุมการเฝ้าระวังการเจริญเติบโต 75.78% 6. จุดอ่อน/จุดแข็ง/โอกาส/ปัญหาอุปสรรค 4.การดำเนินงานที่ผ่านมา ปี 2561 จุดแข็ง : มีอสม.รับผิดชอบ /ผู้บริหารให้ความสำคัญกำหนดนโยบายหลัก จุดอ่อน : ไม่มีการแก้ปัญหา PCM โอกาส : มีกองทุนสุขภาพตำบลเป็นแหล่งงบประมาณ อุปสรรค : เด็กถูกตามใจ เข้าถึงร้านสะดวกซื้อ สื่อโฆษณาชวนเชื่อ - ประกาศนโยบายมหัศจรรย์ ๑,๐๐๐ วัน / นิเทศหน้างาน - ถ่ายทอดแนวทาง (ศูนย์>จังหวัด>อำเภอ) - เฝ้าระวังโดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ใน WWC, ศพด.และ ร.ร. - ดำเนินการตำบลสูงดีสมส่วน (นโยบายจังหวัดละ ๑ ตำบล) - ประเมินมาตรฐานศพด. - สำรวจมาตรฐานเครื่องชั่งน้ำหนัก, ที่วัดส่วนสูง, จัดซื้อเครื่องมือ (มีมาตรฐาน) 7. มาตรการหลัก/แนวทางการดำเนินเงินงาน/แก้ไขปัญหา ปี 2562 ขับเคลื่อนมหัศจรรย์ ๑,๐๐๐วันแรกของชีวิตอำเภอละ ๑ ตำบล

2. สร้างความร่วมมือและความเข้มแข็งของภาคีเครือข่าย เข็มมุ่งการดำเนินงาน ปี 2562 ของเขตสุขภาพที่ 12 : ยุทธศาสตร์.........P&P.................................. 1.ประเด็น G & C Hospital G&C Hospital ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก 40% และรพ.สต.ผ่านเกณฑ์พื้นฐานร้อยละ 10 รพ.สต.ผ่านมาตรฐานมูลฝอยติดเชื้อร้อยละ 30 2.ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย : 5. ผลการดำเนินงาน 3. สถานการณ์ ข้อมูลย้อนหลัง ปี 2559-2561 (9 เดือน) มีโรงพยาบาลเป้าหมายจำนวน 83 แห่ง ผ่านการประเมินตามเกณฑ์ คิดเป็น ร้อยละ 100.00 ผ่านมาตรฐานระดับดีมาก จำนวน19 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 22.89 ผ่านมาตรฐานระดับดีจำนวน 35 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 42.17 ผ่านมาตรฐานระดับพื้นฐานจำนวน 29 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 34.94 6. จุดอ่อน/จุดแข็ง/โอกาส/ปัญหาอุปสรรค จุดแข็ง : มีนโยบายระดับกระทรวง จุดอ่อน : มีปัญหาด้านโครงสร้างและวิกฤติทางการเงินของโรงพยาบาล โอกาส : ความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย เช่น ภาคเกษตร, อปท. 4.การดำเนินงานที่ผ่านมา ปี 2561 7. มาตรการหลัก/แนวทางการดำเนินเงินงาน/แก้ไขปัญหา ปี 2562 (ไม่เกิน 3 มาตรการ) -ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital -นิเทศติดตาม -ประเมินรับรอง 1. ส่งเสริมและพัฒนามาตรฐาน ด้านกฎหมาย นวตกรรม และวิชาการ เช่น IC, ขยะติดเชื้อ, ขยะอันตราย, อาหารปลอดภัย 2. สร้างความร่วมมือและความเข้มแข็งของภาคีเครือข่าย 3. ประเมินรับรองคุณภาพมาตรฐาน

1.ประเด็น ขยะอันตรายในโรงพยาบาล เข็มมุ่งการดำเนินงาน ปี 2562 ของเขตสุขภาพที่ 12 : ยุทธศาสตร์.........P&P......................................... 1.ประเด็น ขยะอันตรายในโรงพยาบาล 2.ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย : ขยะอันตรายในโรงพยาบาลมีการคัดแยก รวบรวม และกำจัดเป็นไปตามมาตรฐาน 3. สถานการณ์ ข้อมูลย้อนหลัง ปี 2559-2561 (9 เดือน) 5. ผลการดำเนินงาน ปี 2561 ของเสียอันตรายในโรงพยาบาล ได้มีการรวบรวมเพื่อส่งกำจัดจำนวน 7.3 ตัน แต่ยังมีปริมาณตกค้างอีกในโรงพยาบาล ของเสียอันตรายในโรงพยาบาล ยังไม่มีการรวบรวมปริมาณที่เกิดขึ้นอย่างชัดเจน แต่รพ.ส่วนใหญ่ได้มีการคัดแยกยังไม่เป็นไปตามมาตรฐาน และยังไม่มีแหล่งการกำจัดที่เป็นไปตามมาตรฐาน และบางรพ.ยังทิ้งขยะอันตรายปะปนไปกับขยะทั่วไป 6. จุดอ่อน/จุดแข็ง/โอกาส/ปัญหาอุปสรรค จุดอ่อน/อุปสรรค : ขาดองค์ความรู้ในการจัดการขยะอันตราย และ ไม่มีแหล่งกำจัดขยะอันตรายในเขตพื้นที่ ในการขนส่ง กำจัดมีค่าใช้จ่ายสูง ท้องถิ่นไม่รับกำจัด 4.การดำเนินงานที่ผ่านมา ปี 2561 7. มาตรการหลัก/แนวทางการดำเนินเงินงาน/แก้ไขปัญหา ปี 2562 (ไม่เกิน 3 มาตรการ) พัฒนาศักยภาพบุคลากร รพ. กำกับ ติดตาม ควบคุม คุณภาพ มาตรฐาน รพ. สนับสนุนการจัดการของเสียอันตรายแบบรวมศูนย์ 1.พัฒนาบุคลากรของเสียอันตรายในโรงพยาบาล 2. รวบรวมปริมาณขยะอันตรายที่เกิดขึ้นส่งกำจัดที่เป็นไปตามมาตรฐาน

1.ประเด็น ข้อบัญญัติขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น เข็มมุ่งการดำเนินงาน ปี 2562 ของเขตสุขภาพที่ 12 : ยุทธศาสตร์.........P&P......................................... 1.ประเด็น ข้อบัญญัติขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น 2.ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย : องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นมีการข้อบัญญัติเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 3. สถานการณ์ ข้อมูลย้อนหลัง ปี 2559-2561 (9 เดือน) 5. ผลการดำเนินงาน องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นมีการข้อบัญญัติเพิ่มขึ้นร้อยละ 56.40 ส่วนใหญ่ อบต. ยังไม่มีการออกข้อบัญัติ อปท. ออกข้อบัญญัติ ร้อยละ ตรัง 99 45 45.45 พัทลุง 73 68 93.15 สงขลา 140 76 54.29 สตูล 41 100.00 ปัตตานี 113 39.82 ยะลา 63 32 50.79 นราธิวาส 88 46.59 รวม 617 348 56.40 6. จุดอ่อน/จุดแข็ง/โอกาส/ปัญหาอุปสรรค จุดอ่อน/อุปสรรค : อบต.ขาดองค์ความรู้ในพรบ.การสาธารณสุข 2535 / ขาดบุคลากรด้านสาธารณสุข / ขาดการบังคับใช้กฎหมาย จุดแข็ง / โอกาส : กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นให้ความสำคัญ / มีกลไกคณะกรรมการสาธารณสุขขังหวัด(คสจ.) 4.การดำเนินงานที่ผ่านมา ปี 2561 7. มาตรการหลัก/แนวทางการดำเนินเงินงาน/แก้ไขปัญหา ปี 2562 (ไม่เกิน 3 มาตรการ) 1. พัฒนาบุคลากรสาธารณสุขอำเภอ 2. ประชุม คณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (คสจ.) 3. นิเทศ ติดตาม 4. ร่าง ตัวอย่างข้อบัญญัติ ตามพรบ.การสาธารณสุข 2535 พัฒนาศักยภาพ และเสริมสร้างความเข้มแข็ง บุคลากร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กำกับ ติดตาม ควบคุม มาตรฐานคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม(EHA). กำกับติดตาม การบังคับใช้กฎหมาย โดยกลไกคณะกรรมการสาธารณสุขขังหวัด(คสจ.)

๔.จังหวัดมีการพัฒนาศักยภาพทีมประเมินระดับจังหวัด เข็มมุ่งการดำเนินงาน ปี 2562 ของเขตสุขภาพที่ 12 : ยุทธศาสตร์.........ด้านบริการเป็นเลิศ.................................. 1.ประเด็น ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว - ร้อยละของรพ.สต. ที่ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพรพ.สต.ติดดาว ระดับ ๓ (๑๐๐%) พ.ศ.๒๕๖๒ - ร้อยละของรพ.สต. ที่ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพรพ.สต.ติดดาว ระดับ ๕ สะสม ๖๐% พ.ศ.๒๕๖๒ 2.ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย : 5. ผลการดำเนินงาน 3. สถานการณ์ ข้อมูลย้อนหลัง ปี 2559-2561 (9 เดือน) จากการดำเนินงานรพ.สต.ติดดาว ระดับเขตปี๒๕๖๑ มีรพ.สต.ติดดาว ระดับ ๕ ดาว เท่ากับ ๔๑.๒๕% จังหวัด จำนวนรพ.สต.ทั้งหมด ปีพ.ศ. ๒๕๖๑ ๕ ดาวสะสม ๓ ระดับ ๔ ระดับ ๕ ระดับ ตรัง ๑๒๕ ๑๐ ๗๒ ๔๓ พัทลุง ๑๒๔ ๑๗ สตูล ๕๕ ๑๘ ๒๓ ๑๓ ๑๔ สงขลา ๑๗๕ ๒๙ ๖๑ ๘๐ ๘๓ ปัตตานี ๑๒๗ ๘๒ ๕ ๒๘ ๔๐ ยะลา ๘๑ ๓๖ ๘ นราธิวาส ๑๑๑ ๙๕ ๖ ๒๐ รวม ๗๙๘ ๒๔๘ ๒๐๗ ๑๙๕ ๒๒๕ 6. จุดอ่อน/จุดแข็ง/โอกาส/ปัญหาอุปสรรค จุดแข็ง : ผู้บริหารทุกระดับให้ความสำคัญกับนโยบาย, มาตรฐานรพ.สตติดดาวสามารถนำไปปฏิบัติได้ง่ายชัดเจน จุดอ่อน : การทำงานของสหวิชาชีพแบบแยกส่วนไม่ได้บูรณาการร่วมกัน, ข้อจำกัดของพื้นที่, งบประมาณในการพัฒนารพ.สต.ไม่เพียงพอ โอกาส :องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นสนับสนุนการดำเนินงานของรพ.สต.ติดดาว อุปสรรค:ระเบียบการเงิน 4.การดำเนินงานที่ผ่านมา ปี 2561 7. มาตรการหลัก/แนวทางการดำเนินเงินงาน/แก้ไขปัญหา ปี 2562 (ไม่เกิน 3 มาตรการ) ๑.รพ.สต.มีการประเมินตนเอง มายังอำเภอ อำเภอมีการประเมินซ้ำ ส่งผลประเมินไปยังจังหวัด ๒.ทางสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมีการประเมินติดตาม รพ.สต. ๕ ดาว โดยมีการใช้ทีมประเมินจากแต่ละอำเภอลงประเมิน ๓.ทางเขตมีการพัฒนาศักยภาพ ของทีมประเมิน ระดับเขต (ตัวแทนของแต่ละจังหวัด) ๔.จังหวัดมีการพัฒนาศักยภาพทีมประเมินระดับจังหวัด ๑.สร้างระบบพี่เลี้ยง เพื่อมีระบบสนับสนุนที่เข้มแข็ง ๒.มีการติดตามอย่างต่อเนื่องจากทุกระดับ ๓.สร้างเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้สิ่งที่ดีงามและถอดบทเรียนจะทำให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ๔.ปรับระเบียบการเงินให้เอื้อต่อการพัฒนา