สรุปประเด็นสำคัญ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
การจัดการข้อมูล 3 ฐาน จังหวัดร้อยเอ็ด นางสุภาภรณ์ ทัศนพงศ์ สสจ. ร้อยเอ็ด.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ระบบการตรวจราชการ และนิเทศงาน ปี 2555
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ขั้นตอนการให้บริการ ด้านโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ข้อมูลการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (PMTCT)
แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2562
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปประเด็นสำคัญ

นโยบาย และทิศทางการจัดบริการสุขภาพ

สถานการณ์ และการติดตามผลการดำเนินงาน ในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด การติดตามผลการดำเนินงานงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติดในหน่วยบริการ (HARM) ได้ผลใกล้เคียงกับผลการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของประเทศ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการติดตามการดูแลผู้ใช้ยา/สารเสพติด แบ่งออกเป็น 4 ส่วน ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับการติดเชื้อเอชไอวี ข้อมูลด้านพฤติกรรม ข้อมูลด้านบริการ

1. ข้อมูลทั่วไป: ผู้ใช้ยาเสพติดส่วนใหญ่เป็นเพศชาย โดยที่ IDU อยู่ในกลุ่มอายุมาก (>40 ปี) และ Non-IDU อยู่ในกลุ่มเยาวชน (18-24 ปี) โดยเฉลี่ยเริ่มใช้ยาเสพติดด้วยวิธีฉีดครั้งแรกเมื่ออายุ 22 ปี 16% ของ IDU ใช้ยาเสพติดมากกว่า 1 ชนิด ยาเสพติด 3 ลำดับแรก ได้แก่ เฮโรอีน ยาบ้า และฝิ่น 17% ของ Non-IDU ใช้ยาเสพติดมากกว่า 1 ชนิด ยาเสพติด 3 ลำดับแรก ได้แก่ ยาบ้า อื่นๆ (สุรา 4x100 อัลฟาโซแลม) และฝิ่น

2. ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับการติดเชื้อเอชไอวี ความรู้เกี่ยวกับการติดเชื้อเอชไอวีที่ตอบได้ถูกต้อง %

3. ข้อมูลด้านพฤติกรรม IDU 60% ใช้อุปกรณ์และเข็มฉีดยาใหม่ IDU และ Non-IDU มีการใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ค่อนข้างต่ำ (~20 – 30%)

4. ข้อมูลด้านบริการ IDU: รับบริการ MMT 65% การแลกเปลี่ยนเข็ม และกระบอกฉีดยา ค่อนข้างต่ำเพียง 31% การสนับสนุนถุงยางอนามัย เพียง 50% 46% ของ IDU ได้รับการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี และ 12.2% ของ Non-IDU ได้รับการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี การตรวจคัดกรองหาการติดเชื้อวัณโรค โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี และไวรัสตับอักเสบซี ค่อนข้างน้อยเพียง 10 – 30%

นอกจากนี้ยังสามารถติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ใช้ยา/สารเสพติดที่มารับบริการ

ประโยชน์ของการใช้ข้อมูล 1. สามารถตอบข้อมูลการเฝ้าระวังโรคได้ เช่น พฤติกรรมการใช้ยา พฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี 2. การเข้าถึงบริการด้านสุขภาพของผู้ใช้ยา/สารเสพติด 3. ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ใช้ยา/สารเสพติด 4. หน่วยงานสามารถนำข้อมูลไปพัฒนาคุณภาพการให้บริการ 5. ช่วยเป็นข้อมูลในการตัดสินใจ กำหนดทางเลือกเชิงนโยบาย 6. ได้ทราบถึงสถานการณ์ในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติดในระดับพื้นที่ และระดับประเทศ

ประสบการณ์ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติดในหน่วยบริการระดับต่าง ๆ โรงพยาบาลธัญญารักษ์ขอนแก่น โรงพยาบาลสมุทรปราการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา เครือข่ายผู้ใช้ยาประเทศไทย

โรงพยาบาลธัญญารักษ์ขอนแก่น การบันทึกข้อมูล มีการกำหนดผู้รับบริการ HARM ชัดเจน (IDU, DU: ที่เสี่ยงต่อติดเชื้อ ได้รับการบำบัดแบบผู้ป่วยใน > 3 visit ขึ้นไป และมีโรคแทรกโรคร่วม และ MMT บันทึกข้อมูลทุก visit ที่มารับบริการ การดำเนินงาน แต่งตั้งเป็นคณะทำงานคลินิกลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด (PCT ) ผู้รับผิดชอบคลินิกลดอันตรายฯ เป็นตัวหลัก และคณะทำงานที่ OPD บริการผู้ป่วยแทน เมื่อผู้รับผิดชอบหลักติดราชการ ประโยชน์ต่อผู้รับบริการ องค์กร ประเทศ ผู้รับบริการได้รับการดูแลแบบองค์รวม ครอบคลุมด้านร่างกาย จิตใจ ไม่เฉพาะยาเสพติด องค์กรสามารถนำข้อมูลไปวิเคราะห์การจัดบริการสุขภาพให้ครอบคลุม ประเทศสามารถนำไปกำหนดนโยบาย ป้องกันแก้ไขปัญหาใช้ยาเสพติด ตรงตามปัญหาความต้องการเรื่องสุขภาพผู้ใช้ยา

โรงพยาบาลสมุทรปราการ เริ่มจากการเก็บข้อมูลเฉพาะ IDU และเพิ่มข้อมูล Non-IDU ปี 2556 มีความแตกต่างจาก รพ.ธัญญารักษ์ เนื่องจากมีลักษณะเป็นโรงพยาบาลทั่วไป ที่ต้องรับผิดชอบงานบริการหลายอย่าง เนื่องจากมีบุคลากรทำงานน้อย จึงต้องมีการสร้างความเข้าใจกับทีมงานเพื่อขอความร่วมมือ และกำหนดผู้รับผิดชอบเสริม ข้อดีของการเป็นโรงพยาบาลทั่วไป คือ มีการบริการส่งต่อ VCT และ ARV ที่ครอบคลุม ถ้าติดเชื้อเอชไอวี สามารถส่งต่อผู้ป่วยไปรักษายังหน่วยงาน ARV ในโรงพยาบาลเดียวกันได้ง่าย

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา การบริหารจัดการและการใช้ประโยชน์จากข้อมูล นำเสนอข้อมูลผ่านผู้บริหารระดับจังหวัดเพื่อกำกับติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน สรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดทั้งในกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงอื่น ๆ วางแผนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและเอดส์ทั้งในระดับจังหวัดและระดับพื้นที่ พัฒนามาตรฐานคุณภาพการดำเนินงานของคลินิกยาเสพติด ติดตามการดำเนินงานระดับจังหวัดและระดับพื้นที่ ทราบขนาดของปัญหา เพื่อวางแผนในการแก้ไขปัญหาในพื้นที่

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา ปัญหา/อุปสรรค การดำเนินงาน ผู้บริหารจะให้ความสำคัญในเรื่องของการแก้ปัญหายาเสพติด ซึ่งเป็นนโยบายหลักของรัฐบาล แต่จะให้ความสำคัญของการดำเนินงานเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มผู้ใช้สารเสพติด ค่อนข้างน้อย เนื่องจากปัญหาความซ้ำซ้อนของ บสต./Harm Reduction การดำเนินงานเอดส์และยาเสพติด มีการแยกเป็น 2 ฝ่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบยาเสพติดของโรงพยาบาลมีภารกิจมาก ความเข้าใจคลาดเคลื่อนของการเก็บข้อมูลทำให้ข้อมูลที่ได้ไม่ตรงตามความเป็นจริง การลงข้อมูลมีความล่าช้า

เครือข่ายผู้ใช้ยาประเทศไทย (TDN) การทำงานเชิงรุกผ่าน Peer ช่วยทำให้เข้าถึงผู้ใช้ยาเสพติดได้มากกว่าภาครัฐ” TDN ใช้โปรแกรม HARM เก็บข้อมูล IDU ในระบบบริการของ TDN (Peer เก็บข้อมูลจากเพื่อนสมาชิกในความดูแลของตน) โดยกำหนดรหัสUIC เป็นตัวแทนของผู้รับบริการ แทนชื่อ สุกล และเลขที่บัตรประจำตัวประชาชน ถ้าเป็นเคสของ TDN ที่ส่งไปรับบริการ MMT ทางธัญญารักษ์จะไม่ลงข้อมูลเพื่อป้องกันการซ้ำซ้อนของข้อมูล (เป็นข้อกังวลเกี่ยวกับการซ้ำซ้อนของข้อมูล ถ้าโปรแกรมไม่มีระบบเช็คการนับซ้ำ ) ติดตามประเมินความเปลี่ยนแปลงของเพื่อนโดยเก็บข้อมูล Harm 2 ทุก 6 เดือน

เครือข่ายผู้ใช้ยาประเทศไทย (TDN) ประโยชน์ที่ได้รับ มีข้อมูลเพื่อนผู้ใช้ยาที่เป็นระบบมากขึ้น ค้นหาข้อมูลได้สะดวกขึ้น นำข้อมูลที่ได้มาประเมินการดูแลเพื่อนได้ดีขึ้น นำข้อมูลมาเป็นแนวทางในการวางแผนการทำงาน และการอบรมให้แก่เพื่อนสมาชิก ข้อมูลมีความน่าเชื่อถือมากขึ้นและสามารถนำข้อมูลมานำเสนอเป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ มีข้อมูลครอบคลุม เนื่องจากที่ผ่านมาภาครัฐจะบอกว่ามีข้อมูลของ IDU น้อยมาก ถ้าโปรแกรมนี้สมบูรณ์ก็จะทำให้ได้ข้อมูลของ IDU ที่ครอบคลุม และสามารถนำเป็นใช้อ้างอิง หรือประกอบรายงานได้ ผลของข้อมูลสามารถนำไปใช้ในการวางแผนร่วมกันระหว่างภาครัฐและภาคประชาสังคมในการแก้ไขปัญหาของกลุ่มประชากรกลุ่มนี้ได้อย่างตรงจุด

ข้อเสนอแนะ ควรเชื่อมประสานกับระบบข้อมูลอื่น โปรแกรมมีระบบตรวจสอบความผิดพลาดของข้อมูล โปรแกรมมีระบบตรวจสอบความซ้ำของผู้มารับบริการ

แนวทางการใช้ประโยชน์จากข้อมูล การติดตามผลการดำเนินงาน ในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติดอย่างครบวงจร

วัฏจักรกลไกการพัฒนาคุณภาพต่อเนื่อง Continuous Quality Improvement ใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ กำหนดนโยบาย และวางแผนพัฒนาคุณภาพ เป้าหมาย ↓ อันตรายจาก การใช้ยาเสพติด ↓ อัตราป่วย-ตาย สถานการณ์ปัจจุบัน Current State นโยบาย ทีมงาน ความรู้ เทคโนโลยี งบประมาณ ระบบบริการมีประสิทธิภาพ ข้อมูลการติดตาม: ข้อมูลเฝ้าระวัง ข้อมูลการให้บริการ – บสต ข้อมูลการติดตามให้บริการการลดอันตรายจากสารเสพติด ติดตามผลการดำเนินงาน Process, Outcomes, Impact

ข้อมูลเฝ้าระวังในปัจจุบันมีข้อจำกัด ระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวี (HSS) มีการส่งข้อมูลมายังส่วนกลางน้อยลง ระบบเฝ้าระวังด้วยวิธีการสุ่มแบบ RDS (IBBS) ทำได้ยาก และเป็นตัวแทนได้ในบางพื้นที่ ในขณะที่การดำเนินงานมีต้นทุนสูง ใช้งบประมาณจำนวนมาก ใช้เวลาในการดำเนินการนาน และใช้บุคลากรจำนวนมาก โดยมีลักษณะเป็นกึ่งเชิงวิจัย ข้อมูล HARM เทียบเคียงข้อมูลสถานการณ์ในระบบข้อมูลเฝ้าระวังของประเทศได้

มุมมองการนำระบบข้อมูลไปใช้ในการติดตามผลการดำเนินงานลดอันตรายจากการใช้ยา โปรแกรมรายงานเป็นโปรแกรมที่มีประโยชน์ บ่งบอกข้อสรุปสถานการณ์ที่เป็นปัจจุบัน หากมีการลงข้อมูลครบถ้วน กำกับ ดูแล ติดตามอย่างต่อเนื่อง แต่ปัจจุบันมีการทำงานที่แยกส่วน ข้อมูลบางส่วนมีความซ้ำซ้อน สถานพยาบาลที่เหมาะสมสำหรับการระบบการรายงาน คือสถานพยาบาลที่ให้การรักษาทั้งโรคติดยาและอันตรายทางกายและจิตที่เกี่ยวข้อง ในความหมาย คือ one stop service: รพ. ใกล้บ้านที่มี การดูแลแบบองค์รวม

มุมมองการนำระบบข้อมูลไปใช้ในการติดตามผลการดำเนินงานลดอันตรายจากการใช้ยา องค์ความรู้ด้านการบำบัดยาเสพติด/harm reduction ควรเสริมให้กับผู้ปฏิบัติงานฝ่ายกาย ในขณะเดียวกันองค์ความรู้ด้านฝ่ายกายโดยเฉพาะอันตรายทางกายที่เกิดจากการฉีดควรเสริมให้กับผู้ปฏิบัติงานการบำบัดยาเสพติด/harm reduction ผู้บริหารมีหน้าที่ตัดสินใจหากจำเป็นต้องมีการเก็บข้อมูล โดยมอบให้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นผู้ดำเนินการ โดยให้การสนับสนุนทางองค์ความรู้ ทรัพยากร มีข้อมูลสะท้อนกลับจากส่วนกลาง และนำไปใช้ขับเคลื่อนนโยบาย

แนวทางการผลักดันสู่นโยบาย ข้อมูลที่ได้รับไม่ตรงกับสภาพปัญหาในพื้นที่จริง เพราะมีหน่วยงานจัดเก็บหลายหน่วยงาน ซ้ำซ้อนกัน มีเป้าหมายเฉพาะกลุ่ม ไม่สามารถตอบการดูแลรักษาว่ามีคุณภาพมากน้อยเพียงใด คนทำงานควรเห็นความสำคัญของการจัดเก็บข้อมูล สามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ เช่น การรู้ปัญหา รู้สถานการณ์ และนำไปสู่การวางแผนการดำเนินงานให้เหมาะสม มีการบูรณาการระบบการทำงานทั้งในระดับกระทรวงสาธารณสุข เชื่อมโยงกับกระทรวงอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และระดับผู้ปฎิบัติงาน มีการพัฒนาระบบข้อมูลร่วมกัน เพื่อให้ตรงกับวัตถุประสงค์ และการใช้ประโยชน์ของข้อมูล ปัจจุบันมีการแชร์ข้อมูลทั้งภาครัฐ และเอกชน ผ่านคณะกรรมการด้านยุทธศาสตร์ เครือข่าย PCM (Provincial Coordination Mechanism)