ความเชื่อมโยงเป้าหมายกระทรวงสาธารณสุขกับแผนฯ 12

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการรายงานข้อมูลให้มีความ ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย ปีงบประมาณ กองแผนงาน -
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การขับเคลื่อนนโยบาย และการดำเนินงานแบบบูรณาการ ของกระทรวงสาธารณสุข ปี 2559 โดย : นายแพทย์โสภณ เมฆธน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
การพัฒนาคุณภาพบริการและเครือข่ายสุขภาพ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ที่มีคุณภาพ ร้อยละ 50.
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 2 (1 ต.ค. 60 – 31 มี.ค. 61) เขตสุขภาพที่ 12.
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
P S G 5P MODEL Policy PASSION PLANNING PEOPLE PROCESS PERFORMANCE
ประเด็นและแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 ปีงบประมาณ 2560 การส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรค และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ.
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 1 (1 ต.ค. 60 – 31 ธ.ค. 60) เขตสุขภาพที่ 12.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความเชื่อมโยงเป้าหมายกระทรวงสาธารณสุขกับแผนฯ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ำในสังคม เป้าหมาย เป้าหมายที่ 2 คนในสังคมไทยทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ และความสามารถเพิ่มขึ้น เป้าหมายที่ 4 คนไทยมีสุขภาวะที่ดีขึ้น เป้าหมายที่ 2 เพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการพื้นฐานทางสังคมของภาครัฐ เป้าหมาย 2.1 เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ ตัวชี้วัด 1 เด็กมีพัฒนาการสมวัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 เป้าหมาย 2.2 เด็กวัยเรียนและวัยรุ่นมีสติปัญญาและความฉลาดทางอารมณ์เพิ่มขึ้น ตัวชี้วัด 2 คะแนน IQ เฉลี่ยไม่ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน ตัวชี้วัด 3 เด็กร้อยละ 70 มีคะแนน EQ ไม่ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน ตัวชี้วัด 4.1 ประชากรอายุ 15 – 79 ปีมีภาวะน้ำหนักเกินลดลง ตัวชี้วัด 4.2 การตายจากอุบัติเหตุ(การจราจร)ทางถนนต่ำกว่า 18 คนต่อประชากรแสนคน ตัวชี้วัด 4.3 อัตราฆ่าตัวตายสำเร็จต่อประชากรแสนคนลดลง ตัวชี้วัด 4.4 การคลอดในผู้หญิงกลุ่มอายุ 15 – 19 ปี ลดลง ตัวชี้วัด 4.5 รายจ่ายรวมด้านสุขภาพภาครัฐไม่เกินร้อยละ 20 ของรายจ่ายภาครัฐ ตัวชี้วัด 4.6 ผู้สูงอายุที่อาศัยในบ้านที่มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมเป็น(ร้อยละ 20) ตัวชี้วัด 2.4 ความแตกต่างของสัดส่วนบุคลากรทางการแพทย์ต่อประชากรระหว่างพื้นที่ลดลง ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์กระทรวง ส่งเสริมสุขภาพเป็นเลิศ ป้องกันควบคุมโรคเป็นเลิศ บริการเป็นเลิศ บริหารจัดการเป็นเลิศด้วยธรรมภิบาล เป้าหมายกระทรวง 1) ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพดี 2) ประชาชนได้รับการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 3) ประชาชนได้รับบริการทางการแพทย์ที่มีคุณภาพมาตรฐาน 4) ประชาชนเข้าถึงบริการทางการแพทย์และสุขภาพอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม - สตรีและเด็ก : อัตราส่วนมารดาตาย (กรม อ.) : พัฒนาการสมวัย (กรม อ.) - วัยเรียน+วัยรุ่น : อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี (กรม อ.) : ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน (กรม อ.) : ระดับสติปัญญา (IQ)/ ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) (กรม สจ.) - วัยทำงาน : ร้อยละของประชากรวัยทำงานมีค่าดัชนีมวลกายปกติ (กรม อ.) : ประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป มีกิจกรรมทางกายเพียงพอต่อสุขภาพ (กรม อ.) ผู้สูงอายุ : Healthy Aging (กรม พ.) : ร้อยละตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ / ผู้พิการ / ผู้ด้อยโอกาส และการดูแลระยะยาวในชุมชน (กรม อ.) ร้อยละของประชาชนมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง (อย.) - วัยเรียน : อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 15 ปี (กรม คร.) - วัยทำงาน : อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน (RTI) (กรม คร.) : อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงรายใหม่ (กรม คร.) + : อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ (กรม สจ.) - ประชาชนกลุ่มเสียง CVDs ได้รับการเฝ้าระวังและขึ้น ทะเบียน (กรม คร.) - ร้อยละของหน่วยบริการจัดการขยะมูลฝอยติดเชื้อได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ (กรม อ.) - ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง (กรม คร.) - อัตราการเสียชีวิตจากโรคหัวใจขาดเลือด (กรม พ.) - อัตราการเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมอง (กรม พ.) - อัตราการเสียชีวิตจากโรคมะเร็งตับ (กรม พ.) - อัตราการเสียชีวิตของทารกแรกเกิดอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 28 วัน (กรม พ.) จำนวนการปลูกถ่ายไตสำเร็จ (กรม พ.) ร้อยละของผู้ป่วยมีอัตราการลดลงของ eGFR < 4 ml/min/1.72 m2/yr (กรม พ.) - ร้อยละของระบบ ECS คุณภาพในโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป (กรม พ.) - อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ (Trauma) (กรม พ.) - ร้อยละของผู้ป่วยนอกที่ได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกได้มาตรฐาน (กรม พท.) - ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต (กรม สจ) - อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ (กรม คร.) - อัตราการเสียชีวิตในผู้ติดเชื้อ HIIV (กรม คร) - ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนด (กรม พ.) - อัตราการเสียชีวิตจากการติดเชื้อ (Sepsis) (สบรส.) - ร้อยละของสถานบริการกลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งเสริมพัฒนาระบบบริการสุขภาพให้มีมาตรฐานสากล (JCI,ISO) (กรม สบส.) - รายจ่ายรวมด้านสุขภาพภาครัฐไม่เกินร้อยละ 20 ของรายจ่ายภาครัฐ (สปสช.) - ร้อยละผู้ไม่มีฟันผุ (cavity fee) (กรม อ.) - ลดเหลื่อมล้ำ : ประชาชนทุกคนมีสิทธิหลักประกันสุขภาพด้านส่งเสริมป้องกันไม่ต่างกัน (สปสช. & สพฉ.) - คุณภาพการให้บริการ (Quality) : ร้อยละของหน่วยบริการและหน่วยบริหารที่ผ่านการรับรองคุณภาพ (HA & PMQA) (สรพ. & กพร.) - การเข้าถึงบริการสุขภาพ (Access) : สัดส่วนบุคลากรทางการแพทย์ต่อประชากรเท่าเทียมกัน (สป.) จำนวนร้อยละโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล (RDU) (กรมวิทย์ & สบรส.) - การดำเนินงานด้านคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ (อย. & สบส.) ตัวชี้วัด สนง.ปลัดกระทรวงสาธารณสุข/สนง.คณะกรรมการอาหารและยา/กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ/สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล/สถาบันวัคซีนแห่งชาติ/สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข/สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ/องค์การเภสัช/โรงพยาบาลบ้านแพ้ว/สสส./กรมวิทย์/สพฉ. กรมอนามัย/สนง.ปลัดกระทรวงสาธารณสุข/กรมสุขภาพจิต/กรมควบคุมโรค/กรมการแพทย์/กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ/สนง.คณะกรรมการอาหารและยา กรมควบคุมโรค/สนง.ปลัดกระทรวงสาธารณสุข/กรมอนามัย/กรมสุขภาพจิต/กรมการแพทย์/กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ/สนง.คณะกรรมการอาหารและยา/กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เป้าหมายหน่วยงาน กรมการแพทย์/กรมสุขภาพจิต/ กรมพัฒนาการแทพย์แผนไทยฯ/สนง.ปลัดกระทรวงสาธารณสุข/กรมอนามัย/กรมควบคุมโรค/กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ/สถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน/สปสช.

ตัวชี้วัด เป้าหมายกระทรวง 1) ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพดี หน่วยงาน กรมการแพทย์ กรมสุขภาพจิต กรมอนามัย สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สนง.คณะกรรมการอาหารและยา คนไทยได้รับบริการทางการแพทย์ที่มีคุณภาพและมาตรฐานวิชาชีพอย่างเสมอภาค ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อปัญหาจิตเวชยาเสพติดได้รับการส่งเสริมป้องกัน ประชาชนได้รับบริการส่งเสริมสุขภาพจิตแบบบูรณาการตลอดช่วงชีวิตเพื่อการมีสุขภาพดี ประชาชนได้รับการส่งเสริมความอบอุ่นในครอบครัวตลอดช่วงชีวิต ผู้สูงอายุได้รับความคุ้มครองด้านการส่งเสริมสุขภาพอย่างทั่วถึง เท่าเทียมในระยะยาว ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนาศักยภาพ ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับความมั่นคงในชีวิต ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับความเข้มแข็งและอบอุ่น ประชาชนมีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเหมาะสมตามกลุ่มวัยและอยู่ในสภาพ แวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี ประชาชนและภาคีเครือข่ายภายใต้โครงการพระราชดำริและโครงการเฉลิมพระเกียรติมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิต ผู้บริโภคมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง เป้าหมายให้บริการ หน่วยงาน แผนงานบูรณาการ สตรีและเด็ก : ร้อยละสถานบริการที่มีการคลอดมาตรฐาน วัยเรียน+วัยรุ่น : ร้อยละของเด็กป่วยและด้อยโอกาสที่สามารถเข้ารับการศึกษาปกติ ผู้สูงอายุ : ร้อยละของ Healthy Aging เชิงปริมาณ: จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการดูแลตามแนวทางกรมอนามัย เป้าหมาย 139,200 ราย เชิงปริมาณ:จำนวนหน่วยบริการปฐมภูมิที่จัดบริการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุตามแนวทางกรมอนามัย เป้าหมาย 3,000แห่ง เชิงปริมาณ: เครือข่ายนำองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรรมการส่งเสริมสุขภาพไปประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาศักยภาพประชาชน เป้าหมาย 190 แห่ง เชิงปริมาณ: ประชาชน และภาคีเครือข่ายได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการส่งเสริมสุขภาพเพื่อความมั่นคงในชีวิต เป้าหมาย 4,000 ราย เชิงปริมาณ: ภาคีเครือข่ายได้รับการพัฒนาศักยภาพเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันที่เข้มแข็งของประชาชนและความอบอุ่นของครอบครัว เป้าหมาย 370 แห่ง เชิงปริมาณ:ภาคีเครือข่ายภายใต้โครงการพระราชดำริและโครงการเฉลิมพระเกียรติที่นำองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมไปประยุกต์ใช้ เป้าหมาย 1,480 แห่ง ตัวชี้วัด : อัตราส่วนมารดาตาย ไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน ตัวชี้วัด : เด็กวัยเรียนอายุ 5-14 ปี มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ไม่เกินร้อยละ 10 "ตัวชี้วัด : อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำ ของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ไม่เกิน 6.0 ต่อประชากรเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี แสนคน" ตัวชี้วัด : อัตราการคลอดในมารดาอายุ 15-19 ปี ไม่เกิน 50 ต่อ ประชากรหญิงอายุ 15 - 19 ปีพันคน ภายในปี 2561 ตัวชี้วัด : อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนนไม่เกิน 14 ต่อประชากรแสนคน ร้อยละ 82.5 ของผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด วัยเรียน+วัยรุ่น : IQ เด็กไทยมีระดับสติปัญญาเฉลี่ย ไม่ต่ำกว่า 100 (แผนยุทธฯ 20 ปี) (วัดปี 64) : EQ ร้อยละของเด็กไทยมีความฉลาดทางอารมณ์ อยู่ในเกณฑ์ปกติขึ้นไป (แผนยุทธฯ 20 ปี) (วัดปี 64) - ร้อยละของวัยรุ่นและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะในการป้องกันการติดสารเสพติด จำนวนจังหวัด/ชมรม TO BE NUMBER ONE ที่มีศักยภาพในการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดตามแนวทางโครงการ TO BE NUMBER ONE จำนวนเครือข่ายมีการดำเนินงานตามมาตรฐานการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน จำนวนแนวทาง/องค์ความรู้/เทคโนโลยีการส่งเสริมสุขภาพจิตที่พัฒนาและถ่ายทอดสู่เครือข่ายและประชาชน เชิงปริมาณ: ภาคีเครือข่ายที่นำองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมไปประยุกต์ใช้ เป้าหมาย 429 แห่ง งบประมาณ (ไม่รวมบุคลากร .....ลบ.) 34.1832 ล้านบาท 155.3088 ล้านบาท 313 ล้านบาท 242.8219 ล้านบาท 88.0274 ล้านบาท

ตัวชี้วัด เป้าหมายกระทรวง หน่วยงาน กรมสุขภาพจิต กรมอนามัย 2) ประชาชนได้รับการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ หน่วยงาน กรมสุขภาพจิต กรมอนามัย กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สนง.คณะกรรมการอาหารและยา กรมควบคุมโรค ประชาชนและภาคีเครือข่ายมีความสามารถจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมและขยะอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพเพื่อสุขภาพที่เหมาะสม ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอยู่ในสภาพแวดล้อมทางอากาศที่ดี ประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้รับข้อมูลและบริการจากองค์ความรู้ งานวิจัยพัฒนา นวัตกรรม และข้อมูลอ้างอิงด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่มีประสิทธิภาพ ที่นำไปใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชน ประชาชนมีสุขภาพดีอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสามารถลดภาระโรคและภัยคุกคาม ประชาชนมีสุขภาพดีอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสามารถลดภาระโรคและภัยคุกคาม ตลอดจนได้รับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพและมีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ตัวยา เคมีภัณฑ์ และสารตั้งต้นที่เป็นวัตถุเสพติดได้รับการควบคุมให้มีการใช้ตามวัตถุประสงค์ และเป็นไปตามกฎหมาย เป้าหมายให้บริการ หน่วยงาน ประชาชน/เครือข่ายเป้าหมายสามารถดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพตามแนวทาง/มาตรฐานด้านการควบคุมโรคของประเทศ ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสามารถปฏิบัติตัวในการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่เหมาะสม ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการค้นหา คัดกรองความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย วัยทำงาน : อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ (แผนยุทธฯ 20 ปี) เชิงปริมาณ : ภาคีเครือข่ายมีการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมและขยะอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ เป้าหมาย ร้อยละ 80 เชิงปริมาณ: ภาคีเครือข่ายเป้าหมายมีการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางอากาศผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่กรมอนามัยกำหนด เป้าหมาย ร้อยละ 55 แผนงานยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด : ร้อยละของอำเภอที่มีระบบตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขตามสภาพปัญหาของแต่ละพื้นที่ แผนงานยุทธศาสตร์บริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม (บูรณาการ) ตัวชี้วัด : ร้อยละของสถานบริการสุขภาพมีระบบบริหารจัดการมูลฝอยติดเชื้อ (ร้อยละ 75) ร้อยละ 100 ของสถานประกอบการที่ได้รับใบอนุญาตผลิต นำเข้า หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งสารตั้งต้นและเคมีภัณฑ์จำเป็น มีระบบการควบคุมและป้องกันตามเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนด ตัวชี้วัด จำนวนนวัตกรรมที่คิดค้นใหม่ เทคโนโลยีสุขภาพ องค์ความรู้ หรือพัฒนาต่อยอดการให้บริการด้านสุขภาพ -ร้อยละของอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนภายใต้ระบบสุขภาพอำเภอ (DHS/DC) (ร้อยละ 85) ร้อยละของอำเภอที่สามารถควบคุมโรคติดต่อสำคัญของพื้นที่ได้ (ร้อยละ 50) จำนวนเหตุการณ์โรคติดต่ออุบัติใหม่ที่สามารถควบคุมไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดเป็นวงกว้าง -ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมในการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่เหมาะสม (ร้อยละ 80) งบประมาณ (ไม่รวมบุคลากร .....ลบ.) 6.9240 ล้านบาท 34.1287 ล้านบาท 232.4199 ล้านบาท 1,366.7846 ล้านบาท 25.3455 ล้านบาท 2,169.5859 ล้านบาท

ตัวชี้วัด เป้าหมายกระทรวง 3) ประชาชนได้รับบริการทางการแพทย์ที่มีคุณภาพมาตรฐาน หน่วยงาน กรมการแพทย์ กรมสุขภาพจิต กรมพัฒนาการแพทย์ แผนไทยฯ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เป้าหมายให้บริการ หน่วยงาน คนไทยได้รับบริการทางการแพทย์ที่มีคุณภาพและมาตรฐานวิชาชีพอย่างเสมอภาค ประชาชนได้รับการดูแลและเข้าถึงบริการสุขภาพจิตทั้งในภาวะปกติและภาวะวิกฤติ ประชาชนที่มีปัญหาจิตเวชยาเสพติดได้รับการบำบัด รักษาให้สามารถดำเนินชีวิตได้ตามปกติในสังคม องค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก และสมุนไพร ได้รับการวิจัย พัฒนาและถ่ายทอดอย่างเหมาะสมสู่ระบบสุขภาพ รวมถึงภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย และสมุนไพรได้รับการคุ้มครอง ประชาชนเข้าถึงบริการและได้รับบริการสุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐาน ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับบริการรักษาพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ ควบคุมป้องกันโรค และฟื้นฟูสภาพโดยเครือข่ายบริการสุขภาพ อย่างมีประสิทธิภาพ ประชาชนมีสุขภาพดีอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสามารถลดภาระโรคและภัยคุกคาม ตลอดจนได้รับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพและมีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ประชาชน ผู้เสพ ผู้ติดยาและสารเสพติดได้รับการส่งเสริม ป้องกัน บำบัดรักษาฟื้นฟู ติดตามดูแล เพื่อสามารถดำเนินชีวิตได้ตามปกติในสังคม ประชาชนมีสุขภาพดีอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสามารถลดภาระโรคและภัยคุกคาม ตลอดจนได้รับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพและมีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ แผนงานพื้นฐานพัฒนาแลเสริมสร้างศักยภาพคน ตัวชี้วัด ร้อยละพื้นที่ที่มีคลินิกหมอครอบครัว (Primary care cluster) เพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 ต่อปี) ตัวชี้วัด : ร้อยละของอำเภอที่มีระบบบริการสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System (DHS)) ที่เชื่อมโยงกับระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ ตัวชี้วัด : การส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการสุขภาพลดลง ร้อยละ 50 แผนงานยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด : จำนวนสถานบริการสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุขมีการจัดรูปแบบพิเศษตามรูปแบบ/เกณฑ์ที่กำหนด (5 แห่ง) แผนงานพื้นฐานด้านความมั่นคงและการต่างประเทศ ตัวชี้วัด : ความครอบคลุมเด็กได้รับวัคซีนตาม EPI ในชายแดนใต้ ตัวชี้วัด : อัตราการเสียชีวิตของมารดาในชายแดนใต้ แผนงานบูรณาการ 1. ร้อยละองค์ความรู้ใหม่จากการวิจัยได้รับการเผยแพร่/นำไปใช้ประโยชน์ 2. ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนด แผนงานยุทธศาสตร์ 1. อัตราตายจากโรคหัวใจขาดเลือด 2. อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 3. อัตราตายทารกแรกเกิด อายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 28 วัน 4. จำนวนผู้ป่วยที่ปลูกถ่ายไตสำเร็จ 5. ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<4ml/min/1.73m2/yr 6. ร้อยละของระบบ ECS คุณภาพในโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป 7. อัตราตายจากการบาดเจ็บ (Trauma) 8. ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีการดูแลแบบประคับประคอง 9. อัตราตายจากโรคมะเร็งตับ 10. อัตราตายจากโรคมะเร็งปอด 11. อัตราการเกิดการกำเริบเฉียบพลันในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) 12. จำนวนความร่วมมือด้านวิชาการแพทย์กับประชาคมอาเซียน แผนงานพื้นฐาน 1. จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับบริการด้านการแพทย์เพื่อการพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้ ตัวชี้วัด ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต (แผนยุทธฯ 20 ปี) จำนวนผู้ป่วยยาเสพติดที่มีปัญหาสุขภาพจิตได้รับการบำบัดรักษา ร้อยละของผู้เสพ ผู้ติดยาและสารเสพติดที่มีปัญหาสุขภาพจิตได้รับการบำบัดรักษาครบตามกำหนด (Early remission rate) แผนงานยุทธศาสตร์ป้องกัน ปราบปราม และบําบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด (บูรณาการ) ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่องเป็นระยะเวลา 3 เดือน หลังการจำหน่ายจากการบำบัดรักษาครบตามกำหนด ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ - จำนวนองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน การแพทย์ทางเลือกและสมุนไพรที่ได้รับการพัฒนาและถูกนำไปถ่ายทอด (5 เรื่อง) ผู้ป่วยที่มารับบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐานเพิ่มขึ้น (ร้อยละ 10) สถานบริการสุขภาพระดับทุติยภูมิ/ปฐมภูมิได้รับการพัฒนาให้มีการจัดการคลินิกเฉพาะโรคด้านการแพทย์แผนไทย (ร้อยละ 70) ตัวชี้วัดตามแผน 20 ปี(ด้านสาธารณสุข) - จำนวนของยาแผนไทยที่พัฒนาเป็นตำรับยาใหม่เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา (5 ตำรับ/ปี) แผนงานยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาในจังหวัดชายแดนภาคใต้) (บูรณาการ) ตัวชี้วัด : จำนวนเครือข่ายการดูแลรักษาโรคหัวใจ มะเร็งและโรคหลอดเลือดสมอง ทุกจังหวัดชายแดนภาคใต้ (5 เครือข่าย) ตัวชี้วัด : จำนวนเครือข่ายสูติแพทย์ในการดูแลหญิงมีครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงและภาวะวิกฤต ทุกจังหวัดชายแดนภาคใต้ (5 เครือข่าย) ตัวชี้วัด : อัตราการเสียชีวิตของมารดาในชายแดนใต้ แผนงานยุทธศาสตร์จัดการปัญหาแรงงานต่างด้าวและการค้ามนุษย์ (บูรณาการ) ตัวชี้วัด สัดส่วนของแรงงานต่างด้าวที่ได้รับการดูแลรักษาปัญหาสุขภาพที่ตรวจพบ แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ (บูรณาการ) ตัวชี้วัด : หน่วยบริการในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษได้รับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในระดับที่ดีขึ้น งบประมาณ (ไม่รวมบุคลากร .....ลบ.) 3,278 ล้านบาท 150.3040 ล้านบาท 197.6840 ล้านบาท 7,726.1194 ล้านบาท

ตัวชี้วัด เป้าหมายกระทรวง 3) ประชาชนได้รับบริการทางการแพทย์ที่มีคุณภาพมาตรฐาน หน่วยงาน สนง.คณะกรรมการอาหารและยา ผู้บริโภคได้รับการคุ้มครองด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพปลอดภัย ผู้ประกอบการอาหารในกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) ที่เข้าข่ายตามเกณฑ์ Primary GMP ได้รับการยกระดับเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ระบบการควบคุม กำกับดูแลผลิตภัณฑ์สุขภาพมีความสอดคล้องกับระดับภูมิภาคและสากล เป้าหมายให้บริการ หน่วยงาน ร้อยละ 95 ของผู้บริโภคมีความเชื่อมั่นต่อผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการรับรองจาก อย. ระดับความสำเร็จของการนำผลความร่วมมือระหว่างประเทศมาใช้พัฒนาระบบการกำกับดูแลผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ระดับ 5) ตัวชี้วัด ร้อยละ 70 ของสถานประกอบการในกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) อาหารที่เข้าข่ายตามเกณฑ์ Primary GMP มีมาตรฐาน งบประมาณ (ไม่รวมบุคลากร .....ลบ.) 453.4905 ล้านบาท

เป้าหมายกระทรวง 4) ประชาชนเข้าถึงบริการทางการแพทย์และสุขภาพอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม หน่วยงาน กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประชาชนได้รับบริการด้านการแพทย์และสาธารณสุขที่มีคุณภาพมาตรฐานละมีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ประชาชนเข้าถึงบริการและได้รับบริการสุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐาน ผู้สูงอายุได้รับการคุ้มครองทางสุขภาพ มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้รับการดูแลอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม ทุกหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข บริหารราชการ มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล โปร่งใส ปราศจากการทุจริต ส่งผลให้ทุกภาคส่วนได้รับบริการที่ดี มีความพึงพอใจ และเชื่อมั่นศรัทธาต่อการดำเนินงานของหน่วยงาน เป้าหมายให้บริการ หน่วยงาน ประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้รับข้อมูลและการบริการที่มีประสิทธิภาพและทันสมัย สามารถเข้าถึงบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขอย่างมีประสิทธิ ภาพและทันเหตุการณ์ ประชาชนผู้มีสิทธิในระบบการแพทย์ฉุกเฉินเข้าถึงบริการที่มีมาตรฐานและคุณภาพ ประชาชนทุกคนได้รับการคุ้มครองสิทธิในการเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉินที่ได้มาตรฐานและคุณภาพ ประชาชนผู้มีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เข้าถึงบริการและได้รับการคุ้มครองสิทธิ ประชาชนทุกคนเข้าถึงบริการสุขภาพอย่างเป็นธรรม แผนงานพื้นฐาน ตัวชี้วัด : ร้อยละของหน่วยบริการและหน่วยบริหารที่ผ่านการรับรองคุณภาพ (HA & PMQA) (สรพ. & กพร.) ตัวชี้วัด : ร้อยละของอำเภอที่มีบุคลากรสาธารณสุขเพียงพอ ไม่ต่ำกว่า 80 % ของเกณฑ์ ตัวชี้วัด : ร้อยละของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการระบบการผลิตและพัฒนากำลังคนได้ตามเกณฑ์เป้าหมายที่กำหนด ตัวชี้วัด :ดัชนีความสุขของคนทำงาน (Happy Work Life Index) ตัวชี้วัด :องค์กรที่มีความสุข (Happy work place) ตัวชี้วัด : ร้อยละของหน่วยบริการระดับทุติยภูมิและตติยภูมิสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลสุขภาพได้ ตัวชี้วัด : ร้อยละของกฎหมายที่ควรปรับปรุงได้รับการแก้ไข ตัวชี้วัด : ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน ตัวชี้วัด :จำนวนร้อยละโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ตัวชี้วัด : สัดส่วนการจัดซื้อร่มต่อการจัดซื้อเดี่ยวของการจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์และวัสดุทันต กรรม แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาระบบประกันสุขภาพ (บูรณาการ) ตัวชี้วัด : ร้อยละของอำเภอที่มีระบบบริการสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System (DHS)) ที่เชื่อมโยงกับระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 ตัวชี้วัด : การส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการสุขภาพลดลง ร้อยละ 50 ตัวชี้วัด : สถานบริการสุขภาพภาครัฐผ่านการรับรองมาตรฐานเพิ่มขึ้น (ร้อยละ 10) ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชากรกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิเข้าถึงบริการสุขภาพ (ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90) - จำนวนร้อยละโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) - ร้อยละของผู้ป่วยจากเชื้อดื้อยาลดลง ร้อยละ 50 - จำนวนประชาชากรที่เข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน (1,500,000 คน) - สัดส่วนผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตที่มาด้วยระบบการแพทย์ฉุกเฉิน (ร้อยละ 20) - จำนวนประชาชากรที่เข้าถึงบริการการฉุกเฉิน (1,500,000 คน) - จำนวนผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตได้รับการคุ้มครองสิทธิ์เข้าถึงบริการการฉุกเฉิน (200,000 คน) - สัดส่วนผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตที่มาด้วยระบบการแพทย์ฉุกเฉิน (ร้ยยละ 20) - ครัวเรือนที่ต้องกลายเป็นครัวเรือนยากจนภายหลังจากการจ่าย ค่ารักษาพยาบาล ไม่เกินร้อยละ 0.4 - อัตราการใช้สิทธิหลักประกันสุขภาพในการรับบริการผู้ป่วยในไม่ต่ำกว่าร้อยละ 87 - ประชาชนทุกคนมีสิทธิหลักประกันสุขภาพด้านส่งเสริมป้องกันไม่ต่างกัน - รายจ่ายรวมระบบประกันสุขภาพภาครัฐไม่เกินร้อยละ 17 ของรายจ่ายภาครัฐ แผนงานยุทธศาสตร์สร้างความเสมอภาคเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ (บูรณาการ) ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองปัญหาสุขภาพไม่น้อยกว่า (ร้อยละ 70) ตัวชี้วัด แผนงานยุทธศาสตร์ป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ (บูรณาการ) ตัวชี้วัด : ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน (Integrity and Transparency Assessment : ITA) (ระดับ5) งบประมาณ (ไม่รวมบุคลากร .....ลบ.) 942.2672 ล้านบาท 200.0000 ล้านบาท 1,055.29 ล้านบาท 124,297,568,800 ล้านบาท 14,003.2262 ล้านบาท

ตัวชี้วัด เป้าหมายกระทรวง หน่วยงาน โรงพยาบาลบ้านแพ้ว 4) ประชาชนเข้าถึงบริการทางการแพทย์และสุขภาพอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม หน่วยงาน โรงพยาบาลบ้านแพ้ว สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล กรมสุขภาพจิต สถาบันวัคซีนแห่งชาติ เป้าหมายให้บริการ หน่วยงาน ประชาชนเข้าถึงบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐาน โดยการบริหารจัดการอย่างมีคุณภาพ สถานพยาบาลมีคุณภาพตามมาตรฐาน ความปลอดภัย และมีการเรียนรู้ ประชาชนได้รับบริการสุขภาพจิตจากหน่วยงานบริการจิตเวชและเครือข่ายที่มีคุณภาพมาตรฐาน ภายใต้การบริหารองค์กรและสมรรถนะบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ ผลงานวิจัยด้านสุขภาพจิตและจิตเวชที่เผยแพร่หรือสามารถนำ ไปใช้ในการพัฒนางานสุขภาพจิต ประเทศไทยสามารถพึ่งตนเองได้ในด้านวัคซีนทั้งในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ : จำนวนการรับบริการทางการแพทย์ - ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการ เชิงปริมาณ - ร้อยละของสถานพยาบาลที่ได้รับการรับรอง HA (เป้าหมาย ร้อยละ 63) เชิงคุณภาพ - ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบรายงานความเสี่ยงทางคลินิก (National Learning and Reporting System of Clinical Risk) (ระดับ 2) - อัตราการติดเชื้อปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจในโรงพยาบาลที่ได้รับรอง HA (เป้าหมาย 6.0 ) - อัตราการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะจากการคาสายสวนปัสสาวะในโรงพยาบาลที่ได้รับการรับรอง HA (เป้าหมาย 3.5) ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ : ร้อยละของงานวิจัยวัคซีนเป้าหมายของประเทศที่ได้รับการสนับสนุนจากสถาบัน ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ : 1. งานวิจัยวัคซีนเป้าหมายของประเทศที่ได้รับการสนับสนุนจากสถาบันสามารถนำไปต่อยอดสู่การทดสอบในสัตว์หรือในมนุษย์ระยะที่ 1 อย่างน้อย 2 งานวิจัย 2. งานวิจัยวัคซีนเป้าหมายของประเทศเข้าสู่การผลิตในระดับกึ่งอุตสาหกรรมอย่างน้อย 1 งานวิจัย ตัวชี้วัด - จำนวนหน่วยงานในสังกัดกรมสุขภาพจิตได้รับการพัฒนาความเป็นเลิศตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ - จำนวนผลงานวิจัยและเทคโนโลยีด้านสุขภาพจิตและจิตเวชที่ได้รับการวิจัยและพัฒนา - ร้อยละผลงานวิจัยและเทคโนโลยีด้านสุขภาพจิตและจิตเวชที่ถูกนำไปใช้ในการพัฒนาดำเนินงานสุขภาพจิต งบประมาณ (ไม่รวมบุคลากร .....ลบ.) 29.1779 ล้านบาท 38.073 ล้านบาท 963 ล้านบาท 72.6662 ล้านบาท