ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์และข้อตกลงกรมอนามัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 โดย อัมพร จันทวิบูลย์ ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร วันที่ 6 มกราคม 2559 โรงแรมทีเค พาเลซ กรุงเทพมหานคร
การจัดทำข้อตกลงการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย คำรับรองการปฏิบัติราชการ 27 พ.ย.58 อธิบดี รองปลัดกระทรวง หัวหน้ากลุ่มภารกิจ ปลัดกระทรวง ระดับกรม 8 ธ.ค.58 รองอธิบดี ที่กำกับดูแลหน่วยงาน ให้ความเห็นชอบ อธิบดี ระดับ หน่วยงาน หัวหน้าหน่วยงาน __/__/__ ระดับ กลุ่ม/ฝ่าย หัวหน้ากลุ่ม/ฝ่าย หัวหน้า หน่วยงาน การมอบหมายงาน ระดับ บุคคล บุคลากร หัวหน้า กลุ่ม/ฝ่าย หัวหน้า หน่วยงาน
ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขกับยุทธศาสตร์เน้นหนัก ปี 2559
การมอบหมายกลุ่มภารกิจ/รองปลัด
PA กระทรวงสาธารณสุข กับท่าน รมว.สธ. ประเด็นนโยบาย รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ดูแล หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ ตัวชี้วัดกรมที่สอดคล้องกับประเด็นนโยบาย 1. LTC. บูรณาการ 5 กลุ่มวัยในตำบลต้นแบบ - นางประนอม คำเที่ยง - นายสุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย - นายวิศิษฎ์ ตั้งนภากร กรมอนามัย กรมควบคุมโรค กรมสุขภาพจิตกรมการแพทย์ กรมสบส. กรมอนามัย 1.1.1/1.1.2/1.1.4/1.4/1.6 กรมการแพทย์ 1.6 กรมคร เพิ่ม/ตัด1.7 กรมสบส 1.4 กรมสุขภาพจิต 1.4 2. ลดอุบัติเหตุ กรมการแพทย์ สป. กรมคร 1.6 กรมการแพทย์ 1.4 สป. เพิ่ม 3. Service Plan ลดป่วย ลดตาย ลดแออัด ลดเวลารอคอยในการ ส่งต่อ - นายสมศักดิ์ อรรฆศิลป์ สำนักบริหารการสาธารณสุข สป กรมสุขภาพจิตกรมพัฒน์ฯ กรมอนามัย 1.7 สป. 1.4 กรมแพทย์ 1.7 กรมจิต 1.5 กรมพัฒน์ 1.1-1.4/1.6 4. NCD เริ่มจากลด CKD นำสู่ลด DM HT กรมอนามัย 1.1.3 กรมคร. 1.1 กรมแพทย์เพิ่ม
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข ตัวชี้วัดกรมที่สอดคล้องกับประเด็นนโยบาย ที่ดูแล หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ ตัวชี้วัดกรมที่สอดคล้องกับประเด็นนโยบาย 5. บริหารจัดการ HR. Finance. พัสดุโปร่งใส - นายสมศักดิ์ อรรฆศิลป์ - นางประนอม คำเที่ยง - นายสุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย - นายวิศิษฎ์ ตั้งนภากร ทุกกรม (อยู่ในมิติภายใน) สำนักบริหารกลาง/สบช สป. 6.ระบบส่งเสริมสุขภาพอนามัยสิ่งแวดล้อม ระบบป้องกันควบคุมโรค ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ระบบดูแลภาวะฉุกเฉิน PHEM กรมอนามัย กรมควบคุมโรค อย. สบส กรมการแพทย์ กรมอนามัย 1.2/1.3/1.5 กรมคร 1.2,1.3 อย 1.1-1.6 ตัด 1.7 (อาจตัดเพิ่ม) สบส 1.1, 1.2, 1.6 กรมการแพทย์ ขอหารือก่อน สธฉ.สป 7. มะเร็งท่อน้ำดีและพยาธิใบไม้ในตับ กรมการแพทย์สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สป.กรมควบบคุมโรค มอบ สนย.สป. เป็นแกนประชุมท่านปลัดวันจันทร์ (โครงการพระราชดำริ) 8. การพัฒนากฎหมาย กลุ่มกฎหมาย สป. สป.เป็นผู้รวมทุกกรม เพิ่ม 9. การพัฒนาการผลิตยา/วัคซีน อย เพิ่ม 10. การเร่งรัดออกใบอนุญาตของอย.
Process outcome
Outcome Output Process Input กลุ่มแม่และเด็ก อัตราส่วนการตาย มารดาต่อการเกิดมีชีพ (สส.) เด็กมีพัฒนาการสมวัย (สส.) Outcome เด็กปฐมวัยได้รับการดูแลสุขภาพช่องปาก (ท.) Output จังหวัดมีระบบเฝ้าระวังมารดาตาย (สส./ศอ.) จังหวัดมีระบบเฝ้าระวังพัฒนาการเด็ก (สส./ศอ.) Process การจัดทำคู่มือส่งเสริมพัฒนาการ (สส.) Input
Shopping KPI ระดับเขต/จังหวัด
Outcome Output Process Input วัยเรียน ร้อยละเด็กนักเรียนอ้วนและเริ่มอ้วน (สภ.) Outcome ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเพื่อบรรลุ เป้าหมายตัวชี้วัด “ร้อยละเด็กฯ” (ท./ศอ.) ร้อยละเด็ก ป.1 ได้รับการตรวจสายตา+แก้ไข(สส.) โรงเรียนไม่มีการจำหน่ายอาหารที่มีผลเสียต่อสุขภาพฯ (ท.) Output การส่งเสริมเด็กไทยมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน (สภ.) Process แปรงสีฟันเด็กในประเทศมีคุณภาพมาตรฐานฯ (ท.) Input
Shopping KPI ระดับเขต/จังหวัด
Outcome Output Process Input วัยรุ่น อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี (อพ.) Outcome ร้อยละรพ.สป.ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน รับรอง รพ. ตามมาตรฐาน (YFHS) ฉบับบูรณาการ (อพ./ศอ.) ร้อยละของการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี (อพ.) ร้อยละของหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ได้รับบริการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ (Modern methods) หลังคลอดหรือ หลังแท้ง (อพ.) ร้อยละของหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี หลังคลอดหรือหลังแท้งที่คุมกำเนิดได้รับการคุมกำเนิดด้วยวิธีกึ่งถาวร (อพ.) Output ระดับความสำเร็จของการเฝ้าระวังการแท้งในประเทศไทย (อพ.) Process Input
Shopping KPI ระดับเขต/จังหวัด
Outcome Output Process Input วัยทำงาน/ทั่วไป/NCD อัตราตายด้วยโรค NCD Outcome DPAC สป.ผ่านเกณฑ์ (กองออกกำลังกาย) ระดับความสำเร็จการขยายผล fitness (กองออกกำลังกาย) ระดับความสำเร็จการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ทางกายแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (กองออกกำลังกาย) การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง (สภ.) การจัดทำข้อเสนอ ลด หวาน มัน เค็มฯ (สภ.) Output Process นวัตกรรมองค์ความรู้ (กองออกกำลังกาย) เกณฑ์เมืองจักรยาน (กองออกกำลังกาย) Input
Shopping KPI ระดับเขต/จังหวัด
Shopping KPI ระดับเขต/จังหวัด
Outcome Output Process Input ผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุ 80 ปี ยังแจ๋ว (สูงอายุ) ร้อยละผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ Outcome ตำบล Long Term Care (สูงอายุ/ศอ.) ผู้สูงอายุได้รับการใส่ฟันเทียมพระราชทาน (ท.) Output บริการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุในตำบล LTC (ท./ศอ.) Process Input
Shopping KPI ระดับเขต/จังหวัด
Outcome Output Process Input บูรณาการ Setting ทุกกลุ่มวัย Outcome ร้อยละของจังหวัดมีเครือข่ายต้นแบบสถาน ประกอบการสุขภาพดี : CSR in Health (สส.) 100 ตำบลต้นแบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัย สิ่งแวดล้อม(สส./สว.) ร้อยละของ รพ.สต./ศสม. จัดบริการส่งเสริมสุขภาพ ช่องปากทุกกลุ่มวัย (ท.) Service Plan Output Process Input
Shopping KPI ระดับเขต/จังหวัด
Outcome Output Process Input อนามัยสิ่งแวดล้อม • ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ (LAB) Outcome • ระดับความสำเร็จการดำเนินงานเพื่อให้จังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง (ป./สอ/ศกม./ศอ.) • ร้อยละรพ.สังกัด กสธ.มีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ (สว.) • ร้อยละของหน่วยงานสังกัด กสธ.ลด ละ เลิก การใช้โฟม (สอ.) • ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนการดำเนินงานของ อสธจ. (ศกม.) • ระดับความสำเร็จของการเสนอร่าง พรบ.การสาธารณสุข (ศกม.) • ระดับความสำเร็จในการจัดทำฐานข้อมูลที่จำเป็นเพื่อกำหนดข้อเสนอ/มาตรการกำกับติดตามการดำเนินงานในพื้นที่ (ศอ.) Output • ส่งเสริมให้จังหวัดนำระบบข้อมูลด้านสุขาภิบาลอาหาร,น้ำไปใช้ (สอ.) • การจัดทำระบบฐานข้อมูล,รายงานสถานการณ์ สวล.,สุขภาพ (ป.) • ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานผลกระทบ (ป.) • ระดับความสำเร็จของการสื่อสารความเสี่ยงผลกระทบต่อสุขภาพ (ป.) • ระดับความสำเร็จของการชี้แจงร่างกฎกระทรวง (ศกม.) • ร้อยละของมติในที่ประชุม คกก.สธ.ที่ฝ่ายเลขาฯ ดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ศกม.) Process • จำนวนหน่วยงาน/องค์กร/ภาคีเครือข่ายที่ขอรับการสนับสนุนองค์ความรู้ไปใช้ (LAB) • จำนนวมาตรฐานการปฏิบัติ/ร่าง/คำแนะนำ/แนวทาง ด้านอนามัยสวล. (สว.) • ร้อยละของผู้เข้าฝึกอบรมพัฒนาบุคลากรด้านอนามัย สวล. พนง. สธ. (สว.) • ระดับความสำเร็จของการส่งเสริมให้ อปท.มีการพัฒนาระบบบริการอนามัย สวล. (สอ.) ระดับความสำเร็จของการจัดทำเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำฯ (สว.) ระดับความสำเร็จของการจัดทำคู่มือวิชาการด้านผลกระทบต่อสุขภาพฯ (ป.) จำนวนตัวอย่างที่ให้การสนับสนุนการตรวจ/ทดสอบของกรมอนามัย (LAB) จำนวน ปชช. ชุมชน บุคลากรภาคีเครือข่ายได้รับการถ่ายทอดความรู้เทคโนโลยีฯ Input
Shopping KPI ระดับเขต/จังหวัด
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ KPI กรม กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประเด็นการประเมินผล การปฏิบัติราชการ กรอบการประเมินผล 2559 น้ำหนัก (%) มิติภายนอก 75 การประเมินประสิทธิผล (65) ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของกระทรวงตามแนวทางการขับเคลื่อนประเทศ/แผนยุทธศาสตร์กระทรวง/ตัวชี้วัดระหว่างกระทรวงที่มีเป้าหมายร่วมกัน (Joint KPIs) และตัวชี้วัดร่วมระหว่างกระทรวงและจังหวัด (Function-Area KPIs) ตามนโยบายสำคัญของรัฐบาล 1.1 ....................................................................... 1.2 ....................................................................... 1.3 ....................................................................... 1.4 ....................................................................... 1.5 ....................................................................... (65) การประเมิณคุณภาพ (ร้อยละ 10) 2. ความพึงพอใจของผู้รับบริการ หมายเหตุ หากกระทรวงไม่มีตัวชี้วัดนี้ให้นำน้ำหนักไปไว้ที่ตัวชี้วัด 1 (10) มิติภายใน 25 การประเมินประสิทธิภาพ (15) 3. ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณ 3.1 การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุน 3.2 การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายภาพรวม (5) 4. การประหยัดพลังงาน - ด้านไฟฟ้า - ด้านน้ำมันเชื้อเพลิง (2.5) 5. การประหยัดน้ำ 6. การพัฒนาประสิทธิภาพระบบสารสนเทศภาครัฐ การพัฒนาองค์การ 7. การพัฒนาสมรรถนะองค์การ 8. ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงานของหน่วยงาน รวม 100 มิติภายนอก 75 มิติภายใน 25
THANK YOU กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย