งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ตัวชี้วัดติดตามผลการดำเนินงาน ลดปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2561

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ตัวชี้วัดติดตามผลการดำเนินงาน ลดปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2561"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ตัวชี้วัดติดตามผลการดำเนินงาน ลดปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2561
ตัวชี้วัดติดตามผลการดำเนินงาน ลดปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2561 ปิยะรัตน์ เอี่ยมคง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ 1 ธันวาคม 2560 ณ โรงแรมริเวอร์วิว เพลส จ.พระนครศรีอยุธยา

2 ผลการดำเนินงาน 5 ตัวชี้วัดในระบบ HDC พ.ศ. 2560
1. การเฝ้าระวังอัตราการคลอดมีชีพในหญิง ปี 2. การเฝ้าระวังอัตราการคลอดมีชีพในหญิง ปี 3. ร้อยละการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี 4. ร้อยละของหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ที่ได้รับบริการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ (Modern methods) หลังคลอดหรือหลังแท้ง 5. ร้อยละของหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี หลังคลอดหรือหลังแท้งที่คุมกำเนิดได้รับการคุมกำเนิดด้วยวิธีกึ่งถาวร (ยาฝังคุมกำเนิด/ห่วงอนามัย)

3 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี พ.ศ. 2560
เปรียบเทียบข้อมูล HDC & HDC (adjusted) หมายเหตุ : ข้อมูล ณ วันที่ 3 พฤศจิกายน 2560

4 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 10-14 ปี พ.ศ. 2560
เปรียบเทียบข้อมูล HDC & HDC (adjusted)

5 ร้อยละของการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุ<20 ปี
พ.ศ. 2560 ร้อยละ เป้าหมาย ร้อยละ 10 หมายเหตุ : ข้อมูลจากระบบ Health Data Center (HDC) ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข วันที่ประมวลผล :: 3 พฤศจิกายน 2560

6 หลังคลอดหรือหลังแท้ง พ.ศ. 2560
ร้อยละของหญิงอายุ <20ปี ที่ได้รับบริการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ (Modern Methods) หลังคลอดหรือหลังแท้ง พ.ศ. 2560 ร้อยละ เป้าหมาย ร้อยละ 80 หมายเหตุ : ข้อมูลจากระบบ Health Data Center (HDC) ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข วันที่ประมวลผล :: 3 พฤศจิกายน 2560

7 ร้อยละของหญิงอายุ < 20 ปี ที่คุมกำเนิดได้รับบริการคุมกำเนิด
หลังคลอดหรือหลังแท้งด้วยวิธีคุมกำเนิดแบบกึ่งถาวร พ.ศ. 2560 ร้อยละ เป้าหมาย ร้อยละ 80 หมายเหตุ : ข้อมูลจากระบบ Health Data Center (HDC) ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข วันที่ประมวลผล :: 3 พฤศจิกายน 2560

8 การเฝ้าระวังอัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี

9

10

11 การเฝ้าระวังอัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 10-14 ปี
2

12

13 ร้อยละการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี
3

14

15 ร้อยละของหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ที่ได้รับบริการคุมกำเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ (Modern methods) หลังคลอดหรือหลังแท้ง 4

16

17

18 ร้อยละของหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี หลังคลอดหรือหลังแท้งที่คุมกำเนิดได้รับการคุมกำเนิดด้วยวิธีกึ่งถาวร (ยาฝังคุมกำเนิด/ห่วงอนามัย) 5

19

20

21 You can find me at piyarat@hotmail.com
THANKS! Any questions? You can find me at You can find me at


ดาวน์โหลด ppt ตัวชี้วัดติดตามผลการดำเนินงาน ลดปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2561

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google