โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
Advertisements

วิจัยเรื่อง “ผลการจัดการเรียนรู้รายวิชา คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 เรื่อง ความน่าจะเป็นโดยใช้เทคนิคร่วมกันคิด” โดย นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Brain- Based Learning ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3/1 สาขาการขาย.
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรูปแบบการจำลอง การอ่านค่าเวอร์เนียคาลิปเปอร์ วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น ระดับชั้น ปวช.1.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการจำต่อวิชา ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น ระหว่างการเรียนแบบปกติและการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด.
ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้เสนอ นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่


นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
นางสาวสาวิตรี โยธาจันทร์ คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
นายศุภพล มงคลเจริญพันธ์
ปัญหาการวิจัย : 1. การพัฒนาของ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อเป็น แนวทางการศึกษาแบบใหม่ 2. พัฒนาทักษะและชักจูงความ สนใจของนักศึกษาให้สนใจต่อการ เรียนให้มากขึ้น.
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้แบบฝึกวิชาภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารในงานอาชีพเรื่อง Present Simple.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียน วิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 โดยใช้สื่อ Power Pointของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาสถิติเบื้องต้นเรื่องทฤษฎีความน่าจะเป็น เบื้องต้น Development of Computer Assisted Instruction for Introduction to.
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม

สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ชื่อผู้วิจัย / สถาบัน นายวัชรพล พรมโคตร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบของ นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขางาน คอมพิวเตอร์กราฟิค วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
การนำเสนอผลงานการวิจัย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
โดย นางสาวนริสรา ลอยฟ้า
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
ผู้วิจัย นายณัฐภูมิ จาระธรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์ การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ตามฐานสมรรถนะวิชาชีพอาชีวศึกษา วิชา การใช้โปรแกรมกราฟิกเพื่อพัฒนาเว็บเพจ ร่วมกับวิธีสอนแบบใช้โครงงานเป็นฐาน โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี

ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา

วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่พัฒนาขึ้น 2. เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่พัฒนาขึ้น 3.เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา ที่เรียนก่อนและหลังด้วยบทเรียนที่พัฒนาขึ้น เพื่อหาความพึงพอใจของผู้เรียนที่เรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่พัฒนาขึ้น

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มประชากร นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวีชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 2 ห้อง รวม 53 คน กลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวีชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 30 คน คัดเลือกโดยใช้การสุ่มด้วยวิธีการจับฉลากเลือกห้องเรียนได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 30 คน

ขั้นตอนการดำเนินงาน ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง การกำหนดแบบแผนการทดลอง

ขั้นตอนการดำเนินงาน สร้างเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย Analysis Design Developmen t Implementat ion Evaluation แสดงขั้นตอนการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนตามฐานสมรรถนะวิชาชีพอาชีวศึกษา ร่วมกับวิธีสอนแบบใช้โครงงานเป็นฐาน ด้วยกระบวนการออกแบบระบบการเรียนการสอนแบบ ADDIE Model

ผลการดำเนินงาน

ผลการดำเนินงาน จากตารางที่ 4-1 พบว่าประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนงานที่ 1 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 88.33 งานที่ 2 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 89.17 งานที่ 3 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 87.50 งานที่ 4 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 86.67 งานที่ 5 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 85.83 แบบฝึกหัดท้ายบทเรียนมีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 87.50แบบทดสอบหลังเรียนมีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 80.83

ผลการดำเนินงาน จากตารางที่ 4-2 เมื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยค่าที (t-test) พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่พัฒนาขึ้นสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ .05

ผลการดำเนินงาน จากตารางที่ 4-3 พบว่าคุณภาพของโครงงานของผู้เรียนที่จัดทำขึ้นด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ในการเรียนการสอน แบ่งออกเป็น 3 ด้านได้แก่ ความสามารถในการปฏิบัติงานมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.33 คุณภาพของงานมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.40 เจตคติ (กิจนิสัย) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.06 ซึ่งคะแนนเฉลี่ยรวมทั้ง 3 ด้าน เท่ากับ 4.38 สรุปได้ว่าคุณภาพของโครงงานของผู้เรียนที่จัดทำขึ้นอยู่ในระดับคุณภาพดี

การดำเนินการทดลองและรวบรวมข้อมูล

สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนตามฐานสมรรถนะวิชาชีพอาชีวศึกษา วิชา การใช้โปรแกรมกราฟิกเพื่อพัฒนาเว็บเพจ ร่วมกับวิธีสอนแบบใช้โครงงานเป็นฐาน จากการนำบทเรียนผ่านการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาและการประเมินด้านเทคนิควิธีการ ด้านละ 3 ท่านมีผลดังนี้ การประเมินเนื้อหามีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4 อยู่ในระดับดีมาก และการประเมินจาก ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิคมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4 อยู่ในระดับดี

สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนตามฐานสมรรถนะวิชาชีพอาชีวศึกษา วิชา การใช้โปรแกรมกราฟิกเพื่อพัฒนาเว็บเพจ ร่วมกับวิธีสอนแบบใช้โครงงานเป็นฐาน ได้ผลดังนี้ ประสิทธิภาพของบทเรียนจากการทำแบบทดสอบท้ายบทเรียนเท่ากับ 87.50 และแบบทดสอบหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 80.83 เปรียบเทียบประสิทธิภาพ ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่พัฒนาขึ้น พบว่ามี คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 87.50/80.83 สูงกว่าเกณฑ์ ประสิทธิภาพ 80/80 ที่กำหนดไว้

สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่พัฒนาขึ้น พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนด้วย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่พัฒนาขึ้น สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ .05

ข้อเสนอแนะ 5.3.1 ข้อเสนอแนะจากการวิจัยครั้งนี้ 5.3.1.1 ด้านการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ควรมีการออกแบบให้มีระบบปฏิสัมพันธ์และควรเน้นการฝึกปฏิบัติโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติ เพื่อสร้างทักษะในการปฏิบัติ ความรู้ ความเข้าใจและความน่าสนใจในตัวบทเรียน เนื่องจากผู้เรียนแต่ละคนมีความแตกต่างในการเรียนรู้ที่ไม่เท่ากัน 5.3.1.2 ควรเพิ่มเสียงบรรยายในส่วนของเนื้อหาเพื่อเพิ่มความเข้าใจและความน่าสนใจในการเรียนมากยิ่งขึ้น 5.3.2 ข้อเสนอแนะสำหรับการทำวิจัยครั้งต่อไป 5.3.2.1 ควรจะมีการเพิ่มระยะเวลาในการเรียนเพื่อให้ผู้เรียน ได้ทำความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนการเรียนรู้และกิจกรรมต่าง ๆ