งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โดย นางสาวนริสรา ลอยฟ้า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โดย นางสาวนริสรา ลอยฟ้า"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โดย นางสาวนริสรา ลอยฟ้า
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ เรื่องการสร้างโมเดลความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลสำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี โดย นางสาวนริสรา ลอยฟ้า ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ รศ.ดร.รวีวรรณ ชินะตระกูล ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม รศ.พีระวุฒิ สุวรรณจันทร์

2 บทที่ 1 บทนำ ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ของการวิจัย
2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 3 สมมติฐานการวิจัย 4 4 กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย 5 5 ขอบเขตของการวิจัย 6 6 นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในการวิจัย 7

3 1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
เนื้อหาที่ค่อนข้างยาก ผู้เรียนไม่สามารถทำความเข้าใจเนื้อหาได้ ผู้เรียนเกิดความเบื่อหน่าย ไม่อยากเรียนในบทที่ต้องใช้เวลาอธิบายนาน เพราะยากแก่การจดจำ ผู้เรียนทำคะแนนได้ไม่ดีเท่าที่ควรจากที่ผ่านมาในเรื่องของการสร้างโมเดลความสัมพันธ์

4 1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อทบทวนที่มีคุณภาพ เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนด้วย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน

5 1.3 สมมติฐานของการวิจัย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน มีคุณภาพอยู่ในระดับดีขึ้นไป บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ E1/E2 ไม่ต่ำกว่า 80/80 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน

6 1.4 กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการออกแบบบทเรียน 1. เร่งเร้าความสนใจ 2. บอกวัตถุประสงค์ 3. ทบทวนความรู้เดิม 4. การเสนอเนื้อหาใหม่ 5. ชี้แนะแนวทางการเรียนรู้ 6. กระตุ้นการตอบสนองบทเรียน 7. ให้ข้อมูลย้อนกลับ 8. ทดสอบความรู้ใหม่

7 กรอบแนวคิดในการพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
1. ขั้นการวิเคราะห์ 2. ขั้นการออกแบบ 3. ขั้นการพัฒนา 4. ขั้นการนำไปใช้ 5. ขั้นการประเมินผล

8 แนวคิดในการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
1. ความรู้ ความจำ 2. ความเข้าใจ

9 เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย
1.5 ขอบเขตของการวิจัย ประชากร กลุ่มตัวอย่าง ตัวแปรที่ศึกษา เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย

10 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคเรียนที่ ปีการศึกษา 2551 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี รวม 2 ห้องเรียน จำนวน 65 คน กลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2551 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ได้เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการ สุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) ด้วยวิธีจับสลากมา 1 ห้องเรียน จำนวน 35 คน

11 ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน
ตัวแปรต้น บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน คุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน ตัวแปรตาม ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน

12 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อทบทวน ตัวแปรต้น การเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน ตัวแปรตาม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

13 เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย
วิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ เรื่องการสร้างโมเดลความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล(ER-DIAGRAM) การแปลง E-R MODEL ให้อยู่ในรูปแบบโครงสร้างฐานข้อมูล แนวคิดเกี่ยวกับ ER-DIAGRAM เอนทิตี้ การระบุตำแหน่งความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ แอทริบิวท์ ความสัมพันธ์

14 1.6 นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในการวิจัย
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต การทบทวน อินเทอร์เน็ต นักศึกษา

15 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คุณภาพของบทเรียน

16 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1 วิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ 2 การสอนทบทวนความรู้ 3 ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต 4 บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 5 หลักการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 6

17 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
6 การประเมินผลบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 7 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 5 6

18 บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย
1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 3 การเก็บรวบรวมข้อมูล 4 การวิเคราะห์ข้อมูล

19 3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคเรียนที่ ปีการศึกษา 2551 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี รวม 2 ห้องเรียน จำนวน 65 คน กลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2551 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ได้เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) ด้วยวิธีจับสลากมา 1 ห้องเรียน จำนวน 35 คน

20 3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน แบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบประเมินคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน

21 3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล เข้าเรียนบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน ดำเนินการทดลองเรียนกับนักศึกษาที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง ให้ผู้เรียนศึกษารายละเอียด ข้อควรปฏิบัติในการเรียนบทเรียน และแบบทดสอบก่อนเรียน ทำการทดสอบหลังเรียน

22 3.4 การวิเคราะห์ข้อมูล การหาคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน 1 การหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน 2 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียน 3

23 การหาค่าสถิติพื้นฐาน
การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต การหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

24 การหาประสิทธิภาพระหว่างเรียน การหาประสิทธิภาพหลังเรียน
การหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน การหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน การหาประสิทธิภาพระหว่างเรียน การหาประสิทธิภาพหลังเรียน E คือคะแนนเฉลี่ยร้อยละที่นักเรียนทำแบบฝึกหัดระหว่างเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ถูกต้อง E คือคะแนนเฉลี่ยร้อยละที่นักเรียนทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทาการเรียนหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ถูกต้อง คือคะแนนรวมของนักเรียนจากการทำแบบฝึกหัดระหว่างเรียนในหน่วยย่อย คือคะแนนรวมของนักเรียนจากการทำแบบฝึกหัดแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน A คือคะแนนเต็มของแบบฝึกหัดในหน่วยย่อย Bคือคะแนนเต็มของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน Nคือจำนวนนักเรียน

25 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียน
t คือ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อน และหลังเรียน คือค่าเฉลี่ยของคะแนนผลต่างระหว่างหลัง เรียนกับก่อนเรียน t= = คือค่าความแปรปรวนของคะแนนผลต่าง =

26 บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน 1 ผลการประเมินคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน 2

27 บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน 3 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียน 4

28 4.1 ผลการสร้างบทเรียน ได้บทเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน
วิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ เรื่องการสร้างโมเดลความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล โดยสามารถเข้าสู่บทเรียนได้ที่ URL ชื่อ

29 4.1 ผลการสร้างบทเรียน บทเรียนมีลักษณะ ดังนี้
-การออกแบบการจัดวางรูปแบบข้อความได้เหมาะสม -การใช้รูปภาพในการสื่อความหมายเพื่อความเข้าใจในบทเรียนได้ง่าย -มีภาพเคลื่อนไหวและเสียงประกอบบทเรียนทำให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ -มีการโต้ตอบกับผู้ใช้งาน -ผู้เรียนสามารถตั้งกระทู้เพื่อโต้ตอบคำถามและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้ -บทเรียนสามารถเชื่อมโยงไปยังบทเรียนต่างๆได้อย่างสะดวก

30 4.1 ผลการสร้างบทเรียน ผู้เรียนสามารถประเมินผลการเรียนด้วยตนเองได้
- ผู้สอนสามารถเข้าระบบเพื่อดูผลการเรียนของผู้เรียนได้ผ่านทางเมนูผู้ดูแลระบบ อีกทั้งผู้สอนยังสามารถลบกระทู้ที่ไม่สมควรหรือไม่เหมาะสมออกจากระบบ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการติดตามข้อมูลของผู้เรียนได้

31 4.2 ผลการประเมินคุณภาพ พบว่า คุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวนด้านเนื้อหา ได้ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.50 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.51 ซึ่งอยู่ในระดับดีมาก พบว่า คุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวนด้านเทคนิคการผลิตสื่อ ได้ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.16 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.74 ซึ่งอยู่ในระดับดี

32 4.2 ผลการประเมินคุณภาพ ผลการประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิทั้งทางด้านเนื้อหา และทางด้านเทคนิคการผลิตสื่อ มีคุณภาพในระดับดีมากและดีตามลำดับ ซึ่งสรุปได้ว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ เรื่องการสร้างโมเดลความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล ที่ผู้วิจัยได้พัฒนามีคุณภาพตามเกณฑ์การประเมินคือค่าเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.50 ทุกรายการประเมิน ดังนั้นจึงสามารถนำไปใช้ประกอบการสอนได้

33 ประสิทธิภาพของบทเรียน
4.3 ผลการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของบทเรียน ผลการทดลอง จำนวน นักเรียน คะแนน ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ประสิทธิภาพของบทเรียน (E1/ E2) คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ ที่คำนวณได้ ที่กำหนดไว้ใน สมมติฐาน คะแนนแบบฝึกหัดระหว่างเรียน 35 30 26.39 87.97 87.97/87.28 ไม่น้อยกว่า 80/80 คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน 40 34.91 87.28 พบว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ เรื่องการสร้างโมเดลความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลมีประสิทธิภาพ 87.97/87.28 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่กำหนดไว้และเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัย

34 4.4 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การทดสอบ n S.D. t Sig ก่อนเรียน 35 13.03 2.93 53.99* 0.00 หลังเรียน 34.91 1.67 * p < .05 จากตาราง พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวนวิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ เรื่องการสร้างโมเดลความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

35 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

36 สรุปผลการวิจัย 1. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ เรื่องการสร้างโมเดลความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล มีคุณภาพด้านเนื้อหาอยู่ในระดับดีมาก( =4.50) และคุณภาพด้านเทคนิคการผลิตสื่ออยู่ในระดับดี( =4.16) 2 2. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ เรื่องการสร้างโมเดลความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล มีประสิทธิภาพ E1/E2 = 87.97/87.28 ซึ่งไม่ต่ำกว่าเกณฑ์ 80/80 และเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยที่กำหนดไว้

37 สรุปผลการวิจัย 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ เรื่องการสร้างโมเดลความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่ระดับ .05 เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ 2

38 อภิปรายผลการวิจัย ด้านการหาคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน 1 ด้านการหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน 2 ด้านการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน 3

39 ด้านการหาคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่าน
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน พบว่า คุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวนอยู่ในระดับดีมาก (ค่าเฉลี่ยคือ 4.50)เนื่องจากในการพัฒนาบทเรียน ผู้วิจัยได้วิเคราะห์หลักสูตร และเนื้อหาการเรียนรู้ โดยศึกษาเนื้อหาที่ใช้ในบทเรียน แล้วทำการวิเคราะห์แบ่งเนื้อหาเป็นหน่วยการเรียนรู้ และกำหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม จึงทำให้บทเรียนมีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์

40 ด้านการหาคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่าน
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน คุณภาพด้านเทคนิคการผลิตสื่ออยู่ในระดับดี ( ค่าเฉลี่ยคือ 4.16) เนื่องจากผู้วิจัยได้ศึกษาหลักและทฤษฎีในการพัฒนาระบบการเรียนการสอนการออกแบบบทเรียนตามกรอบแนวคิดของอนุชัย ธีระเรืองไชยศรี พร้อมทั้งได้คำแนะนำจากผู้ทรงคุณวุฒิ จึงทำให้คุณภาพอยู่ในระดับดี จากผลการประเมินสอดคล้องกับงานวิจัยของ สรชาต ปรางค์น้อย ซึ่งทำการวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ 1 เรื่อง หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรมเบื้องต้น สำหรับผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนควนขนุน จังหวัดพัทลุง ผลของการหาคุณภาพด้านเนื้อหาอยู่ในระดับดีมาก ( ค่าเฉลี่ยคือ 4.57) และด้านเทคนิคการผลิตสื่ออยู่ในระดับดี (ค่าเฉลี่ยคือ 4.42)

41 ด้านการหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวนวิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ เรื่องการสร้างโมเดลความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล มีประสิทธิภาพ E1/E2 =87.97/87.28 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่เป็นเช่นนั้นอาจเนื่องมาจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นนั้นผ่านขั้นตอนในการสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ซึ่งประกอบด้วย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตซึ่งผลจากการประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิด้านเนื้อหามีคุณภาพดีมาก (ค่าเฉลี่ย=4.50 )และทางด้านเทคนิคการผลิตสื่อมีคุณภาพดี(ค่าเฉลี่ย=4.16)

42 และแบบทดสอบเพื่อวัดประสิทธิภาพในการเรียน โดยใช้ข้อสอบที่ผ่านการประเมินหาค่า IOC จำนวน 40 ข้อ ซึ่งข้อสอบมีค่าความยากง่ายอยู่ระหว่าง ค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.82 และมีการตรวจสอบความบกพร่องของบทเรียนโดยผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อนำข้อบกพร่องมาเป็นข้อมูลสำหรับการแก้ไขปรับปรุงบทเรียนให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น และได้นำไปใช้กับกลุ่มทดลองที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง การทดลองใช้ในขั้นหนึ่งต่อหนึ่ง การทดลองใช้ในขั้นทดลองกับกลุ่มเล็ก ซึ่งผู้วิจัยได้นำข้อเสนอแนะมาปรับปรุงแก้ไขบทเรียน จนทำให้บทเรียนมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด และได้นำบทเรียนไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างที่ได้เลือกไว้แล้วจำนวน 35 คน

43 ด้านการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 การที่ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียน เป็นเพราะว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ผ่านขั้นตอนกระบวนการสร้างและพัฒนาให้มีคุณภาพอย่างมีระบบ ส่งผลให้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ

44 ด้านการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต วิชุดา คำมะสิงห์ ซึ่งทำการวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อการทบทวน วิชาการเขียนเว็บเพจด้วยภาษา HTML กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ชั้นปีที่ 2 สาขางานเทคโนโลยีสำนักงาน สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิชาบริหารธุรกิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษาฉะเชิงเทรา มีคุณภาพด้านเนื้อหาอยู่ในระดับดีมาก ( ค่าเฉลี่ย คือ4.58) และด้านเทคนิคการผลิตสื่ออยู่ในระดับดีมาก ( ค่าเฉลี่ย คือ4.50) มีประสิทธิภาพ E1/E2 = 82.33/85.43 และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

45 ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะเพื่อการนำผลการวิจัยไปใช้
ผู้สอนสามารถนำบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวนไปใช้สอนในห้องเรียนปกติซึ่งจะทำให้ผู้เรียนมีความรู้ และความเข้าใจในเนื้อหาได้ดียิ่งขี้น ทำให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นและมีความสนใจและช่วยเสริมสร้างบรรยากาศในการเรียนการสอนได้ดียิ่งขึ้น ผู้เรียนสามารถศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เพื่อทบทวนได้ด้วยตนเองเพื่อความรู้โดยไม่จำกัดเวลา และสถานที่ ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจมากยิ่งขึ้น

46 ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะเพื่อการทำวิจัยต่อไป
ควรมีการสร้างและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตวิชาอื่นๆ เพื่อส่งเสริมในด้านการศึกษาแก่ผู้เรียนต่อไป ควรมีการสร้างและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ซึ่งอาจจะพัฒนาในด้านของสถานการณ์จำลอง หรือในรูปแบบเกมการแข่งขัน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความสนใจและเกิดองค์ความรู้มากยิ่งขึ้น

47 ตัวอย่างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน
วิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ เรื่องการสร้างโมเดลความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล

48 ตัวอย่างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

49 ตัวอย่างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

50 ขอขอบพระคุณคณะกรรมการทุกท่านค่ะ
จบการนำเสนอ ขอขอบพระคุณคณะกรรมการทุกท่านค่ะ


ดาวน์โหลด ppt โดย นางสาวนริสรา ลอยฟ้า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google