นิสิตคณะวิทยาศาสตร์: ชีวิตที่เลือกได้ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0-2218-5006, 7, 8, 9, 10, 38, 54 โทรสาร 0-2218-5053 http://www.sc.chula.ac.th
ทำไมต้องเรียนที่ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทำไมต้องเรียนที่ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย I แหล่งเรียนมาตรฐาน คุณภาพระดับโลก II มีรูปแบบหลักสูตรหลากหลายให้เลือก III มีทุนการศึกษาและโอกาสมากมาย IV บัณฑิตเป็นที่ยอมรับและต้องการ
คณาจารย์ที่ได้รับรางวัล/ทุนวิจัย นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ นักเทคโนโลยีดีเด่น เมธีวิจัยอาวุโส สกว. นักวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์ นักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ทุน คปก. ทุนกลุ่มวิจัย สกอ. รางวัลกลุ่มวิจัยมูลนิธิโทเร การอ้างอิงสูงสุด วท.กายภาพ&วิศวกรรมศาสตร์ สกว. L’oreal for Women in Science The Global Health Award by Bill & Melinda Gates from Am. Assoc. Immunologist TWAS Prize for Young Scientist
บทความวิจัยในระดับนานาชาติ: บทความระดับนานาชาติ จำนวน 221 เรื่อง/ปี การอ้างอิงบทความ จำนวน 13,519 ครั้ง/ปี
สิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร ของคณะวิทยาศาสตร์ สิทธิบัตรในประเทศ 54 เรื่อง อนุสิทธิบัตรในต่างประเทศ 3 เรื่อง อนุสิทธิบัตรในประเทศ 3 เรื่อง
ความภาคภูมิใจ/โดดเด่น: ทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก งบประมาณกว่า 200 ล้านบาท
บรรยากาศนานาชาติ นิสิตแลกเปลี่ยนและอาจารย์แลกเปลี่ยนจากต่างประเทศ ทุนการศึกษา/ทุนวิจัยแก่นิสิตทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ การพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนสู่ระดับนานาชาติ
หลักสูตรคณะวิทยาศาสตร์ ระดับ ประเภทหลักสูตร ปกติ นานาชาติ ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตรบัณฑิต ( วท.บ.) 18 1 - ประกาศนียบัตรบัณฑิต (ป.บัณฑิต) วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ( วท.ม.) 22 2 วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต ( วท.ด.) 17 รวม 58 4
รูปแบบหลักสูตร ระดับปริญญาตรี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดการศึกษาในระดับปริญญาตรี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) ใช้เวลาศึกษา 4 ปี โดยมีรูปแบบการจัดหลักสูตรดังต่อไปนี้ 1 แบบเอกเดี่ยว 2 แบบเอก-โท 3 โปรแกรม เกียรตินิยม (Honors Program)
รูปแบบหลักสูตร ระดับปริญญาตรี ประกอบด้วย 19 สาขาวิชา คณิตศาสตร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ เคมี เคมีประยุกต์ (นานาชาติ) ชีววิทยา สัตววิทยา ฟิสิกส์ พฤกษศาสตร์ พันธุศาสตร์ เคมีวิศวกรรม ธรณีวิทยา วิทยาศาสตร์ทั่วไป วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมวิทยาศาสตร์ทางทะเล ชีวเคมี วัสดุศาสตร์ จุลชีววิทยา เทคโนโลยีทางภาพและการพิมพ์ และเทคโนโลยีทางอาหาร แบบเอกเดี่ยว คณะวิทยาศาสตร์ ได้พัฒนาหลักสูตรข้ามสาขาวิชา (กลุ่มวิชาโท) จำนวน 18 สาขาวิชา เพื่อให้นิสิตได้มีโอกาสศึกษาในสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้องเพิ่มอีก 1 สาขาวิชา นอกเหนือจากสาขาวิชาเฉพาะที่ได้เลือกเข้าศึกษาโดยตรง แบบเอก-โท ผู้ที่จะเข้าศึกษาโปรแกรมเกียรตินิยม จะต้องผ่านการเรียนในชั้นปีที่ 1 ด้วยแต้มเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 3.50 และเรียนรายวิชาในหลักสูตรมาแล้วไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต โดยมหาวิทยาลัยเป็นผู้สนับสนุนทุนการศึกษา โปรแกรม เกียรตินิยม
การสอบ Placement Test โครงการ เรียนจบไว ผู้มีสิทธิ์ นิสิตชั้นปีที่ 1 คณะวิทยาศาสตร์ และมีคะแนนอยู่ใน 10% แรก ของการสอบ A-NET ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ หรือ คณิตศาสตร์ ในการสอบของ สกอ.หรือเป็นนิสิตโครงการรับตรง ทุกโครงการของคณะวิทยาศาสตร์ รายวิชาที่จัดสอบ แคลคูลัส 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นและเทคนิคการทำโปรแกรม เคมีทั่วไป1, 2 ชีววิทยาทั่วไป ชีววิทยาทั่วไป 1, 2 ฟิสิกส์ทั่วไป 1, 2 นิสิตที่จะได้รับสิทธิการยกเว้นการเข้าเรียนรายวิชา ต้องเป็นนิสิตที่สอบวัดระดับความสามารถได้เกรด A
ทุนการศึกษา 1. ทุนการศึกษานิสิตระดับปริญญาตรีผู้มีผลการเรียนดีเด่น 2. เงินทุนสำหรับนิสิตในโครงการโอลิมปิกวิชาการ 3. เงินทุนสำหรับนิสิตในโครงการ พสวท. 4. ทุนสนับสนุนนักเรียนโรงเรียนวิทยาศาสตร์ ของโครงการปัญญาวิทย์ ผลิตนักเทคโน 5. ทุนอุดหนุนการศึกษาของคณะวิทยาศาสตร์
ทุนการศึกษา 6. ทุนสำนักงานนิติวิทยาศาสตร์ตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 7. ทุนโครงการพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์(ทุนเรียนดีวิทยาศาสตร์แห่งปท.) 8. ทุนสนับสนุนการแลกเปลี่ยนนิสิตคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ กับมหาวิทยาลัยต่างประเทศ
อาชีพบัณฑิต อาจารย์ นักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ นักวิศวกรเคมี นักธุรกิจ นักบริหาร นักเขียน นักหนังสือพิมพ์ ผู้ผลิตสื่อและสิ่งพิมพ์สังกัดหน่วยงานภาครัฐ เช่น กระทรวง กรม กอง สถาบันวิจัย โรงพยาบาล และภาคธุรกิจอุตสาหกรรม เช่น อุตสาหกรรมการกลั่นน้ำมัน ปิโตรเคมี กระดาษ ซีเมนต์ อาหารและเครื่องดื่ม เซรามิกส์ พลาสติก สิ่งทอ ยา การประมงและเพาะเลี้ยง เป็นต้น
อาชีพและการศึกษาต่อของนิสิตปริญญาตรี ราชการ รายได้เฉลี่ย 10,000 - 30,000 บาทต่อเดือน