งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวคิดและทิศทางในอนาคตของ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) โดย ดร. วราภรณ์ สีหนาท รองเลขาธิการคณะกรรมการการ อุดมศึกษา 16 มกราคม 2557 โรงแรมแกรนด์ปาร์ค.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวคิดและทิศทางในอนาคตของ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) โดย ดร. วราภรณ์ สีหนาท รองเลขาธิการคณะกรรมการการ อุดมศึกษา 16 มกราคม 2557 โรงแรมแกรนด์ปาร์ค."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวคิดและทิศทางในอนาคตของ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) โดย ดร. วราภรณ์ สีหนาท รองเลขาธิการคณะกรรมการการ อุดมศึกษา 16 มกราคม 2557 โรงแรมแกรนด์ปาร์ค จ. นครศรีธรรมราช

2 หัวข้อการนำเสนอ หลักการสำคัญและเป้าหมายของการดำเนินการ TQF การนำ TQF ไปสู่การปฏิบัติ สถานะการจัดทำ TQF แนวคิดและทิศทางของ TQF ในอนาคต

3 หลักการสำคัญ เพื่อเป็นกรอบมาตรฐานให้สถาบันอุดมศึกษาใช้ เป็นแนวทางในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และพัฒนาคุณภาพการ จัดการศึกษา ให้สามารถผลิตบัณฑิตที่มี คุณภาพ ซึ่งจะเอื้อประโยชน์ต่อการรับรอง มาตรฐานคุณวุฒิในระดับอุดมศึกษา การ แลกเปลี่ยนนักศึกษา คณาจารย์ นักวิจัย การ เคลื่อนย้ายแรงในภูมิภาคและระดับสากล

4 เป้าหมาย มาตรฐานคุณวุฒิสาขา / สาขาวิชาที่ครอบคลุม ศาสตร์ที่เปิดสอน ทุกหลักสูตรสอดคล้องตาม TQF ภายในปี การศึกษา 2556 การขึ้นทะเบียนหลักสูตร หลักสูตรมีมาตรฐานเทียบเคียงได้ในระดับ ภูมิภาคและระดับสากล

5 การนำ TQF ไปสู่การปฏิบัติ

6 สถานะการจัดทำมาตรฐานสาขา / สาขาวิชา ( มคอ.1) ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว จำนวน 11 สาขา ได้แก่ คอมพิวเตอร์ พยาบาลศาสตร์ ( ตรีและ บัณฑิตศึกษา ) โลจิสติกส์ การ ท่องเที่ยวและ การโรงแรม วิศวกรรมศาสต ร์ บัญชี ครุ ศาสตร์ / ศึกษาศาสตร์ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ และ คณิตศาสตร์ และแพทย์แผน ไทยประยุกต์ ( ตรีและ บัณฑิตศึกษา ) กายภาพบำบัด ( ตรีและ บัณฑิตศึกษา ) จำนวน 16 สาขา ได้แก่ อุตสาหกรรม เกษตร สัตว - แพทยศาสตร์ การ บริหารการศึกษา ( บัณฑิตศึกษา ) รัฐประศาสนศาสตร์ ( ตรี - โท - เอก ) บริหารธุรกิจ ศิลปกรรมศาสตร์ สิ่งแวดล้อม ทันต แพทยศาสตร์ สถาปัตยกรรม ศาสตร์ เภสัช - ศาสตร์ เทคโนโลยีชีวภาพ สังคมสงเคราะห์ ศาสตร์ นิเทศ ศาสตร์ เทคโนโลยี คหกรรมศาสตร์ สาธารณสุขศาสตร์ ( ตรีและ บัณฑิตศึกษา ) ระหว่างดำเนินการ อยู่ระหว่างการ พิจารณา จำนวน 4 สาขา ได้แก่ ภาษาอังกฤษ การเกษตร ป่าไม้ และประมง ประวัติศาสตร์ การแพทย์แผน ไทย

7 แนวคิดและทิศทางของ TQF ในอนาคต ขยายการจัดทำมาตรฐานสาขา / สาขาวิชา และ สนับสนุน / ส่งเสริมการนำ TQF ไปสู่การปฏิบัติ การขึ้นทะเบียนหลักสูตร ในสาขาวิชานำร่อง ได้แก่ สาขาครุศาสตร์ / ศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการ ท่องเที่ยวและการโรงแรม และ สาขาวิชาโลจิสติกส์ ค้นหาแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) เพื่อนำไปสู่ การลดกฎระเบียบ / ขั้นตอนในการนำเสนอ / ไม่ นำเสนอหลักสูตรให้ สกอ. รับทราบ การเทียบเคียง TQF ระดับภูมิภาคและระดับสากล (ASEAN Qualification Reference Framework, EU และ Australia)

8 แนวคิดและทิศทางของ TQF ในอนาคต ( ต่อ ) ขยายการจัดทำมาตรฐานสาขา / สาขาวิชา และ สนับสนุน / ส่งเสริมการนำ TQF ไปสู่การปฏิบัติ - เร่งรัดดำเนินการจัดทำมาตรฐานสาขา / สาขาวิชาให้ครอบคลุมศาสตร์ที่เปิดสอนใน สถาบันอุดมศึกษา - จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ และประชุมวิชาการ เป็นระยะๆ อย่างต่อเนื่องเพื่อให้ผู้บริหาร คณาจารย์ และผู้ที่เกี่ยวข้องมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับ TQF การจัดทำหลักสูตร กลยุทธ์การ สอนและการประเมินผล

9 แนวคิดและทิศทางของ TQF ในอนาคต ( ต่อ ) การขึ้นทะเบียนหลักสูตร ในสาขาวิชานำร่อง ได้แก่ สาขาครุศาสตร์ / ศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการท่องเที่ยว และการโรงแรม สาขาวิชาโลจิสติกส์ และ / หรือสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ - กรอบมาตรฐานคุณวุฒิกำหนดให้ขึ้นทะเบียน หลักสูตรเมื่อสอนได้กึ่งหนึ่งของระยะเวลาหลักสูตร - รูปแบบ หลักเกณฑ์ วิธีการ จะเสนอให้อนุกรรมการ TQF พิจารณา - ในระยะแรก ควรให้มีการขึ้นทะเบียนหลักสูตรใน สาขาวิชานำร่อง 3-4 สาขาวิชา - การจัดทำ TQF-IS เพื่อรองรับการขึ้นทะเบียน หลักสูตร และการนำเสนอหลักสูตร

10 แนวคิดและทิศทางของ TQF ในอนาคต ( ต่อ ) ค้นหาแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) เพื่อ นำไปสู่การลดกฎระเบียบ / ขั้นตอนในการ นำเสนอ / ไม่นำเสนอหลักสูตรให้ สกอ. รับทราบ - สถาบันอุดมศึกษามีแนวปฏิบัติที่ดีสำหรับ สถาบันอุดมศึกษาอื่นๆ - หลักสูตรที่มีผลการดำเนินการตาม TQF ที่ดี อย่างต่อเนื่อง สถาบันอุดมศึกษาอาจไม่ต้อง เสนอหลักสูตรให้ สกอ. รับทราบ

11 แนวคิดและทิศทางของ TQF ในอนาคต การเทียบเคียง TQF ระดับภูมิภาคและระดับสากล (ASEAN Qualification Reference Framework, EU และ Australia) - การมีส่วนร่วมในการจัดทำ ASEAN QRF เพื่อรองรับ AEC - การเสนอให้จัดทำ ASEAN QRF ระดับสาขา / สาขาวิชา ในศาสตร์ที่ไทยมีความเข้มแข็ง อาทิ อุตสาหกรรม เกษตร - ความร่วมมือทางวิชาการกับ EU ภายใต้โครงการ Tuning Education Structure for Internationalization ใน 3 สาขาวิชาเพื่อร่วมพิจารณาเทียบเคียงหลักสูตรที่ พัฒนาตามกรอบ TQF กับนานาชาติ - ความร่วมมือทางวิชาการกับออสเตรเลีย เพื่อให้ คณาจารย์มีความรู้ความเข้าใจการออกแบบหลักสูตร และกลยุทธ์การสอนและประเมินผล

12 การเทียบเคียง TQF ในระดับสากล สากล การร่วมมือทางวิชาการกับสหภาพยุโรป (European Union : EU) Tuning Education Structures for Internationaliza tion เพื่อการรับรองมาตรฐานและคุณวุฒิ คอมพิวเตอร์ การท่องเที่ยวและการโรงแรม วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

13 ขอบคุณค่ะ Thank you for your Attention


ดาวน์โหลด ppt แนวคิดและทิศทางในอนาคตของ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) โดย ดร. วราภรณ์ สีหนาท รองเลขาธิการคณะกรรมการการ อุดมศึกษา 16 มกราคม 2557 โรงแรมแกรนด์ปาร์ค.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google