แนวคิดการจัดทำแผนพัฒนา และงบประมาณจังหวัด/กลุ่มจังหวัด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Hotel software management
Advertisements

ประสิทธิภาพ การปฏิบัติราชการ
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
สป./กรม สปสช. สสข.*(New) กสธ.ส่วนกลาง เครือข่ายบริการ คปสข. National Health Service Delivery Board สป./กรม สปสช. National Health Authority : Strategic.
นำเสนอโดย ดร.อรัญ โสตถิพันธุ์และคณะ พฤษภาคม 2549
การทำตัวอักษรขึ้นต้นด้วย ตัวใหญ่ นางสาว ลลิตา เจริญผล
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๑๕ ( เวียงเก่าแสนภูวิทยาประสาท ) ปี การศึกษา ๒๕๕๙ ดร. กัมพล ไชยนันท์ ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์
1. ภาวะ ผู้นำ วิสัยทัศน์ เป้าหมาย พันธกิจ ยุทธศาส ตร์ 1) วิเคราะห์ สังเคราะห์ (SWOT) 2) กำหนดวิสัยทัศน์, พันธกิจ 3) นวัตกรรม BSC, KM 4) การมีส่วนร่วม.
Risk Management “Risk” “ ความเสี่ยง ” เหตุการณ์ / ประเด็นที่มีโอกาส เกิดขึ้นในอนาคตและจะส่งผลกระทบในแง่ลบต่อ การดำเนินการขององค์กร - ประเด็นที่อาจเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแนวทางการ.
มีนาคม แผนปฏิบัติการ เพื่อรองรับการ เปลี่ยนแปลง สภาพ ภูมิอากาศ ระดับ เทศบาล แผนผังความเชื่อมโยงแผนฯ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับ ที่ 11.
ชื่อวิทยากร นายสุรศักดิ์ วงษ์เหม ที่อยู่ ๔๙๑ หมู่ ๔ ต. พนานิคม อ. นิคมพัฒนา จ. ระยอง โทร ๐๘๑ ๘๗๔๒๖๒๙ Facebook.
สพป. พช.3 ป.3. นักเรียนชั้น ป.3 สังกัด สพฐ. / ตำรวจ ตระเวน ชายแดน ด้านภาษา (Literacy) ด้านคำนวณ (Numeracy) ด้านเหตุผล (Reasoning Abilities) กลุ่มเป้า.
ระบบสารสนเทศ อ.วรพจน์ พรหมจักร.
KS Management Profile.
Strategy Map วิสัยทัศน์ : “เป็นองค์การที่เป็นเลิศในการบริหารจัดการและคุ้มครองสิทธิการถือครองที่ดินของรัฐและประชาชน มุ่งเน้นการให้บริการโดยบริหารจัดการที่ดี
บทที่ 4 กลยุทธ์ระบบสารสนเทศ
แนวทางการจัดทำรายงานการควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายใน
Guideline on Good Corporate Governance for Insurance Companies in Thailand 1/11/48.
การบริหารความเสี่ยง ในการบริหารงานพัสดุภาครัฐ
สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
การจัดการองค์ความรู้
Information and Communication Technology Lab3 New
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
ความสำคัญของ Internal Audit ต่อการดำเนินธุรกิจ
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)
ระบบสารสนเทศ (Information System)
การเพิ่มขีดสมรรถนะของ สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (OSM)
พัฒนาระดับภาค ๖ ภาค การจัดทำแผน ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
รวบรวมข้อมูลโดย กลุ่มแผนงานงบประมาณอุดมศึกษา สำนักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)
สถานการณ์โรคพิษสุนัขบ้า
ข้อมูลประกอบการประชุมผู้บริหารระดับสูง
โครงสร้างอัตรากำลังของสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
การเตรียมการเพื่อรองรับการตรวจประเมินผล ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของกระทรวงมหาดไทย (ตัวชี้วัดศูนย์ดำรงธรรม) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ นายรณกฤต อุดมสุขโกศล.
การประชุมสัมมนาอาจารย์ที่ปรึกษา นักศึกษา รหัส 61
แนวทางการจัดทำคำของบประมาณเพื่อสนับสนุนแผนพัฒนาจังหวัด
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา  IFM4302 การจัดการความรู้ (Knowledge Management) 2. หัวข้อที่ประจำ สัปดาห์นี้  การเลือกใช้เครื่องมือ (Tools) ในการจัดการความรู้
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
ลำพูน นายพงษ์ธาดา แก้วกมล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการโยธาธิการ
ใน PowerPoint 7 วิธีในการทำงานร่วมกัน แก้ไขกับผู้อื่น
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา
สงขลา นายไมตรี สรรพสิน นางฐาปณี รสสุคนธ์ นายพิชัย อุทัยเชฏฐ์
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
ทิศทางการปฏิบัติงานเพื่อขับเคลื่อนนโยบายและบรรลุเป้าหมาย การพัฒนาที่สำคัญของกรมชลประทาน และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระบวนการวางแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทำคำของบประมาณ
การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด
อุบลราชธานี นายนิวัตร ชูสมุทร นายชัยศักดิ์ ปิยะประสิทธิ์
สมุทรสงคราม -ว่าง- นายธีระชาติ ไทรทอง นางภาวดี ภูมรินทร์
แผนผังความคิด.
องค์ประกอบ ตัวชี้วัด ค่าน้ำหนัก และเกณฑ์การ ประเมิน มาตรฐานสถานที่จัดงานประเทศไทย (ประเภทห้องประชุม) ฉบับปรับปรุง 2558 กลุ่มที่ 1 ศูนย์ประชุม/อาคารแสดง.
บทที่ 5 องค์กร การบริหารในองค์กรและการพัฒนางานอาชีพในองค์กร
การบริหารการตลาดเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคม
การบริหารการตลาดเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคม
แนวทางการพัฒนาระบบราชการ ของกรมอนามัย และหน่วยงานในสังกัด
การขนส่งกับการจัดการโลจิสติกส์ Transport and Logistics Management
ระเบียบวาระการประชุม คณะทำงานบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในของ สกพ
Outlook ทำงานให้คุณ 5 วิธีในการทำให้ ออกจากระบบอย่างมีสไตล์
การอำนวยความเป็นธรรมทางอาญาของพนักงานฝ่ายปกครอง
แพทย์หญิงประนอม คำเที่ยง
News Update เกษตรท่าม่วง
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement: PA)
[ บทที่ 3 ] ระบบสารสนเทศ.
News Update เกษตรท่าม่วง ประชุมสมัยสามัญ อบต.บ้านใหม่
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2558
แผนพัฒนาการเกษตรตำบลคำพราน ปีงบประมาณ 2560 พื้นที่เพาะปลูกพืช เศรษฐกิจ
สรุปผลการตรวจสอบ รายงานการจัดการพลังงาน ประจำปี 2554มี ความครบถ้วนและถูกต้องตามที่กฎกระทรวงฯ และประกาศกระทรวงฯ กำหนดทุกประการ.
ประสานโครงการพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวคิดการจัดทำแผนพัฒนา และงบประมาณจังหวัด/กลุ่มจังหวัด สำนักพัฒนาและส่งเสริมการบริหารราชการจังหวัด สป. โทร ๐ ๒๒๒๑ ๙๒๐๐๐ มท. ๕๐๕๘๓

และภารกิจจากรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๕๐ ผลกระทบต่อบทบาท และภารกิจจากรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๕๐ สิทธิชุมชน ม. ๖๗ ....การดำเนินโครงการหรือกิจกรรมที่จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพจะกระทำมิได้ เว้นแต่ จะได้ศึกษาประเมินผลกระทบฯ และจัดให้ มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน... ให้ความเห็นชอบก่อน

แนวนโยบายด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน ม. ๘๗ รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านการ มีส่วนร่วมของประชาชน ดังต่อไปนี้ (๑) ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนด นโยบายและวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมทั้งใน ระดับชาติและระดับท้องถิ่น (๒) ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการตัดสินใจทางการเมือง การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมรวมทั้งการจัดทำบริการสาธารณะ....

มาตรา ๕๒ เพื่อประโยชน์ในการบริหารงานแบบบูรณาการ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๗)พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้มีบทบัญญัติที่เกี่ยวกับกลุ่มจังหวัด ได้แก่ มาตรา ๕๒ เพื่อประโยชน์ในการบริหารงานแบบบูรณาการ ในจังหวัดหรือกลุ่มจังหวัด ให้จังหวัดหรือกลุ่มจังหวัดยื่นคำ ขอจัดตั้งงบประมาณได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและ เงื่อนไขที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา ในกรณีนี้ให้ถือว่า จังหวัดหรือกลุ่มจังหวัดเป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วย วิธีการงบประมาณ”

พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐ ส่วนที่เกี่ยวข้อง กับจังหวัด(ต่อ) : การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด “ม. ๕๓/๑ ม.๕๓/๒ ให้ จว. จัดทำแผนพัฒนาจังหวัดให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติ/ความต้องการ ของประชาชนในท้องถิ่น โดยให้ ผวจ.ประชุมหารือร่วมกับ หน.ส่วนราชการ ผู้บริหาร อปท. รวมทั้งภาคประชาสังคม/ผู้แทนภาคเอกชน ทั้งนี้ การสรรหาให้เป็นไปตามที่ พ.ร.ฎ. กำหนด ”

พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐ ส่วนที่เกี่ยวข้อง กับจังหวัด(ต่อ) : อำนาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการจังหวัด “ ม. ๕๗(๑) ผวจ. มีอำนาจหน้าที่บริหารราชการตาม กม. ระเบียบ แบบแผนของทางราชการ และตามแผนพัฒนาจังหวัด ม.๕๗(๖) (๗) ผวจ. มีอำนาจหน้าที่เสนองบประมาณต่อกระทรวงที่เกี่ยวข้อง หรือเสนอขอจัดตั้งงบประมาณต่อ สงป. และ ทำหน้าที่กำกับดูแลการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นตาม กม.”

มติ ครม.(๑๖ ต.ค. ๒๕๕๐) : เห็นชอบแนวทางการขับเคลื่อนแผนพัฒนาจังหวัด และงบประมาณของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด โดยในปีงบประมาณ ๒๕๕๑ ให้ดำเนินการทดลอง นำร่องในพื้นที่ครึ่งหนึ่งของจำนวนจังหวัดทั้งหมด(เสนอ ของบปี ๒๕๕๒) และดำเนินการให้ครบทุกจังหวัดในปีงบประมาณ ๒๕๕๒ (เสนอของบปี ๒๕๕๓)

มติ ครม.(๒๗ พ.ย. ๒๕๕๐) : เห็นชอบแนวทางการขับเคลื่อนแผนพัฒนาจังหวัด และ : เห็นชอบแนวทางการขับเคลื่อนแผนพัฒนาจังหวัด และ งบประมาณของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ปีงบประมาณ ๒๕๕๒ โดย ๑. ให้ทุกจังหวัดดำเนินการขอจัดสรรงบประมาณประจำปี ๒๕๕๒ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขปี ๒๕๕๒ (วงเงิน ๑๕,๐๐๐ ล้านบาท) ๒. ให้ทุกจังหวัดจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด และแผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๒ ๓. จัดกลุ่มจังหวัดเป็น ๑๘ กลุ่มจังหวัด และทดลองนำร่องจัด ทำแผนพัฒนาจังหวัด และแผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๒ จำนวน ๑๐ กลุ่มจังหวัด

กลุ่มจังหวัด ๑๘ กลุ่ม ตามมติ ครม. วันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ ๒ ๔ ๘ ๗ กลุ่มจังหวัด ๑๘ กลุ่ม ตามมติ ครม. วันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ ๑. กลุ่มภาคเหนือตอนบน ๑ เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง ลำพูน ๑๑. กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ๑ หนองคาย เลย อุดรธานี หนองบัวลำภู ๒ ๒. กลุ่มภาคเหนือตอนบน ๒ น่าน พะเยา เชียงราย แพร่ ๑ ๑๒. กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ๒ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร ๓. กลุ่มภาคเหนือตอนล่าง ๑ ตาก พิษณุโลก สุโขทัย เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์ ๑๑ ๓ ๑๒ ๑๓. กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง ร้อยเอ็ด ขอนแก่น มหาสารคาม กาฬสินธุ์ ๔. กลุ่มภาคเหนือตอนล่าง ๒ กำแพงเพชร พิจิตร นครสวรรค์ อุทัยธานี ๔ ๑๓ ๑๕ ๗. กลุ่มภาคกลางตอนกลาง ๑ นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา สระบุรี ๙ ๘ ๑๔ ๑๔. กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนล่าง ๑ สุรินทร์ นครราชสีมา บุรีรัมย์ ชัยภูมิ ๗ ๕ ๘. กลุ่มภาคกลางตอนกลาง ๒ ชัยนาท ลพบุรี สิงห์บุรี อ่างทอง ๑๐ ๑๕. กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ๒ อำนาจเจริญ ศรีสะเกษ ยโสธร อุบลราชธานี ๙. กลุ่มภาคตะวันตก ๑ นครปฐม ราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี ๖ ๑๐. กลุ่มภาคตะวันตก ๒ เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสาคร สมุทรสงครา ๕. กลุ่มภาคตะวันออก ๑ ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สระแก้ว นครนายก สมุทรปราการ ๑๖ ๖. กลุ่มภาคตะวันออก ๒ ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด ๑๖. กลุ่มภาคใต้ฝั่งอันดามัน ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง ๑๗ ๑๘. กลุ่มภาคใต้ชายแดน สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ๑๗. กลุ่มภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง มติ ครม. วันที่ ๒๗ พ.ย. ๒๕๕๐ เห็นชอบแนวทาง การขับเคลื่อนแผนพัฒนาและงบประมาณจังหวัด และกลุ่มจังหวัด ปีงบประมาณ ๒๕๕๒ ตามที่ สศช. เสนอ ๑๘

ทดลองนำร่องการจัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด และแผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๒ จำนวน ๑๐ กลุ่ม ๑. กลุ่มภาคเหนือตอนบน ๑ เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง ลำพูน ๙. กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ๒ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร ๒. กลุ่มภาคเหนือตอนล่าง ๑ ตาก พิษณุโลก สุโขทัย เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์ ๑๐. กลุ่มภาคตะวันออก เฉียงเหนือตอนกลาง ร้อยเอ็ด ขอนแก่น มหาสารคาม กาฬสินธุ์ ๗. กลุ่มภาคตะวันตก ๑ นครปฐม ราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี ๘. กลุ่มภาคกลางตอนกลาง ๑ นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา สระบุรี ๓. กลุ่มภาคตะวันออก ๒ ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด ๕. กลุ่มภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง ๔. กลุ่มภาคใต้ฝั่งอันดามัน ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง มติ ครม. วันที่ ๒๗ พ.ย. ๒๕๕๐ เห็นชอบแนวทาง การขับเคลื่อนแผนพัฒนาและงบประมาณจังหวัด และกลุ่มจังหวัด ปีงบประมาณ ๒๕๕๒ ตามที่ สศช. เสนอ ๖. กลุ่มภาคใต้ชายแดน สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาส

คณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง ระดับประเทศ คณะกรรมการนโยบายแผนพัฒนาจังหวัด และงบประมาณจังหวัด (กนพ.) ระดับ กลุ่ม จว. คณะกรรมการแผนพัฒนาและงบประมาณ ในจังหวัด (กพก.) ระดับ จว. คณะกรรมการนโยบายแผนพัฒนาจังหวัด และงบประมาณจังหวัด (กพจ.) ระดับอำเภอ/ กิ่งอำเภอ คณะกรรมการนโยบายแผนพัฒนาอำเภอ และงบประมาณอำเภอ (กพอ.)

คณะกรรมการนโยบายแผนพัฒนาและงบประมาณจังหวัด (กนพ.)

มาตรา ๗ เมื่อ ครม.มีมติให้ใช้พระราชกฤษฎีกานี้กับการจัดทำ แผนพัฒนาจังหวัดใดตามมาตรา ๓ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอำนาจหน้าที่ รับผิดชอบการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดให้เป็นไปตามพระราชกฤษฎีกานี้ ในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด ให้ผู้ว่า-ราชการจังหวัด จัดให้มีการ ประชุมปรึกษาหารือร่วมกัน ระหว่างหัวหน้าส่วนราชการที่มีสถานที่ตั้ง ทำการอยู่ในจังหวัด ไม่ว่าจะ เป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาค หรือ บริหารราชการส่วนกลาง และ ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งหมดในจังหวัด รวมทั้งผู้แทนภาคประชาสังคมและผู้แทนภาคธุรกิจ เอกชน เพื่อพิจารณาแผนพัฒนาจังหวัด

มาตรา ๑๐ การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดต้องสอดคล้องกับแนวทางการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติ และความต้องการของประชาชน ในท้องถิ่นในจังหวัด วรรคสอง เพื่อให้การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดของทุกจังหวัด มีแนวทางการดำเนินการที่สอดคล้องและเป็นไปตามวรรคหนึ่ง ให้จังหวัด จัดทำแผนพัฒนาจังหวัดตามรายละเอียดวิธีการที่ ก.น.พ. กำหนด วรรคสาม การพิจารณาข้อมูลเกี่ยวกับความต้องการของประชาชน ในท้องถิ่นในจังหวัด ให้จังหวัดสำรวจความคิดเห็นเพื่อทราบความต้องการ ของประชาชนในพื้นที่ประกอบกับศักยภาพการพัฒนาจังหวัด

มาตรา ๑๒ เมื่อจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและแผนปฏิบัติการจังหวัด เสร็จสิ้นแล้วให้ ผวจ.จัด ส่งให้ ก.น.พ. เพื่อพิจารณากลั่นกรองและ เสนอความเห็นต่อ ครม. เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ มาตรา ๑๓ ให้ ก.น.พ. พิจารณากำหนดกลุ่มจังหวัด เว้นแต่ กทม. โดยพิจารณาจากจังหวัดที่มีอาณาเขตติดต่อกันทางภูมิศาสตร์ และ มีความสัมพันธ์กันทางเศรษฐกิจ ....และ กำหนดจังหวัดหนึ่งใน กลุ่มจังหวัดนั้นเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด โดยให้ ผวจ. ของจังหวัดดังกล่าวเป็นหัวหน้ากลุ่มจังหวัด

มาตรา ๑๔ ให้มีคณะกรรมการจัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด มาตรา ๑๔ ให้มีคณะกรรมการจัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ประกอบด้วย หัวหน้ากลุ่มจังหวัด เป็นประธานกรรมการ ผวจ.ในกลุ่มจังหวัดทุกจังหวัดเป็นรองประธานกรรมการ มาตรา ๑๖ ในการจัดทำงบประมาณจังหวัดให้สำนักงบประมาณเสนอ ความเห็นในการกำหนดกรอบวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปี ในการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายให้แก่จังหวัด เพื่อให้ ครม. ให้ความเห็นชอบ

มาตรา ๑๗ ให้ประธาน ก.น.พ. มีหน้าที่รวบรวมคำขอจัดตั้งงบประมาณ รายจ่ายประจำปีของจังหวัดตามแผนพัฒนาจังหวัด หรือแผนปฏิบัติการ จังหวัดที่ ครม.ให้ความเห็นชอบเสนอต่อสำนักงบประมาณเพื่อดำเนินการ จัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีต่อไป มาตรา ๑๘ ในกรณีที่ส่วนราชการใดมีหน้าที่ดำเนินการในเรื่องใดตาม แผนพัฒนาจังหวัดหรือแผนปฏิบัติการจังหวัด และ ได้รับงบประมาณ รายจ่ายประจำปีสำหรับดำเนินการในเรื่องนั้นโดยเฉพาะแล้ว ให้สำนักงบประมาณและส่วนราชการนั้น แจ้งการได้รับการ จัดสรรงบประมาณ

(ร่าง) แนวคิดการจัดทำแผนพัฒนาและงบประมาณจังหวัด/กลุ่มจังหวัด (๗) คำของบประมาณ ระดับกระทรวง/กรม การพิจารณา ของ กนพจ. นโยบาย/แนวทางพัฒนา ส่วนราชการ/ กระทรวง/กรม นโยบายและแนวทางการพัฒนา ครม. ระดับชาติ . แผนการบริหาร ผลการอนุมัติโครงการและงบประมาณ ราชการแผ่นดิน กพก. (แผนพัฒนากลุ่ม จว.) . คำของบประมาณประจำปี จังหวัด/กลุ่มจังหวัด (๑) (๘) (๖) แผนปฏิบัติการ จังหวัดประจำปี ยุทธศาสตร์การพัฒนา กลุ่มจังหวัด/จังหวัด แผนพัฒนาจังหวัดประจำปี (๕) นโยบาย/แนวทาง การพัฒนา ระดับจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด (๔ ปี) กพจ. . (๒) (๔) แผนความต้องการ พัฒนาอำเภอ (๔ ปี) นโยบาย/แนวทาง การพัฒนาระดับอำเภอ / กพอ. . อปท. . ๑ ๒ ๓ (๓) หมู่บ้าน / ชุมชน แผนชุมชน ปัญหาในพื้นที่ โครงการที่ขอรับการสนับสนุนจาก อปท. และ โครงการที่ อปท.ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ (งบประมาณรายจ่ายอื่น หมวดเงินอุดหนุน) โครงการที่ขอรับการสนับสนุนจาก กระทรวง/กรม (Function) โครงการที่ขอรับการสนับสนุนจาก งบประมาณจังหวัด (โครงการพัฒนาของอำเภอและโครงการของหมู่บ้าน/ชุมชน ตามยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุข) ๑ ๒ ๓

ยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัด (ร่าง) แนวคิดการจัดทำแผนพัฒนาและงบประมาณจังหวัด ระดับอำเภอ ยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัด คำของบประมาณประจำปีจังหวัด แผนปฏิบัติการจังหวัดประจำปี แผนพัฒนาจังหวัดประจำปี นโยบาย/แนวทางการพัฒนา ระดับจังหวัด แผนความต้องการพัฒนาจังหวัด (๔ ปี) งบพัฒนาจังหวัด งบตาม Function งบองค์กร ปกครอง ส่วนท้องถิ่น โครงการ พัฒนาจังหวัด แผน อยู่ดีมีสุข นโยบาย/แนวทาง การพัฒนาระดับอำเภอ แผนความต้องการพัฒนาอำเภอ (๔ ปี) งบพัฒนาอำเภอ งบตาม Function งบองค์กร ปกครอง ส่วนท้องถิ่น สภาพปัญหาของอำเภอลำดับความสำคัญ จำแนกตามประเภท และ ความต้องการ โครงการ พัฒนาอำเภอ แผน อยู่ดีมีสุข ประชาคมอำเภอ ประชาคมตำบล ประชาคมหมู่บ้าน ข้อมูล กชช.2 ค. / ปัญหาในพื้นที่ / ข้อมูลความยากจน / แผนชุมชน / ฯลฯ

สำนักบริหารยุทธศาสตร์ กลุ่มจังหวัด (The Office of Strategy Management) 1 สำนักบริหารยุทธศาสตร์ กลุ่มจังหวัด (The Office of Strategy Management)

โครงสร้างสำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (The Office of Strategy Management : OSM) Executive Committee ผต.มท. : ประธานกรรมการ ผวจ.ในกลุ่ม : กรรมการ หน.OSM : เลขานุการ สำนักงาน ก.พ.ร. สป.มท. กก. กำกับยุทธศาสตร์ฯ หน.ผต.มท. : ประธานกรรมการ ผต.มท. : กรรมการ ผอ.สบจ. : เลขานุการ ภาคประชาชน/เอกชน/ ปราชญ์ชาวบ้าน และสถาบันการศึกษา สำนัก OSM หน. OSM อัตรากำลัง : ข้าราชการ/พนง.ราชการ/ลูกจ้าง 7 คน - ประสานการดำเนินงานยุทธศาสตร์ การพัฒนากลุ่มจังหวัด - รับผิดชอบการบริหารของ OSM งานอำนวยการ งานยุทธศาสตร์ กลุ่มจังหวัด งานข้อมูลและ ติดตามประเมินผล

โครงสร้างภารกิจของสำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด OSM งานอำนวยการ งานยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด งานข้อมูล/ติดตามประเมินผล ภารกิจ งานธุรการ งานสารบรรณ งานบริหารงานบุคคล งานการเงินและพัสดุ ฯลฯ ภารกิจ งานจัดทำยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด งานจัดทำแผนงาน/โครงการและ งบประมาณกลุ่มจังหวัด งานจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี ของกลุ่มจังหวัด งานบูรณาการแผนงาน/ โครงการ งานตัวชี้วัดตามคำรับรองปฏิบัติ ราชการของกลุ่มจังหวัด ฯลฯ ภารกิจ งานพัฒนาระบบข้อมูลของกลุ่ม จังหวัด งานการจัดระบบติดตามประเมินผล งานวิเคราะห์ผลการดำเนินงานตาม ยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด งานพัฒนาองค์ความรู้ งานวิเทศสัมพันธ์ งานสรุปผลการดำเนินงานประจำปี ของกลุ่มจังหวัด ฯลฯ

โครงสร้างอัตรากำลังสำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (The Office of Strategy Management : OSM) หัวหน้าสำนัก OSM C 8 = 1 คน งานอำนวยการ งานยุทธศาสตร์ กลุ่มจังหวัด งานข้อมูลและ ติดตามประเมินผล C 3-7 = 1 คน พนักงานราชการ 1 คน C 3-7 = 1 คน พนักงานราชการ 1 คน C 3-7 = 1 คน พนักงานราชการ 1 คน หมายเหตุ 1. กจ.สป. ปรับเกลี่ยอัตรากำลังตามความเหมาะสม 2. ขอเพิ่มอัตรากำลัง พนักงานราชการ ในปี ๒๕๕๑ 3. จังหวัดจ้างเหมาบริการ