งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระเบียบวาระการประชุม คณะทำงานบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในของ สกพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระเบียบวาระการประชุม คณะทำงานบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในของ สกพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระเบียบวาระการประชุม คณะทำงานบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในของ สกพ
ระเบียบวาระการประชุม คณะทำงานบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในของ สกพ. ครั้งที่ ๒/๒๕๕๕ (ครั้งที่ ๕) วันศุกร์ที่ ๒๗ มกราคม ๒๕๕๕ เวลา ๙.๓๐ น. ณ ห้องประชุม ๖ สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน

2 ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งที่ประชุมทราบ
ระเบียบวาระที่ ๒ เรื่องรับรองรายงานการประชุม ๒.๑ รับรองรายงานการประชุมคณะทำงานบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในของ สำนักงาน กกพ. ครั้งที่ ๑/๒๕๕๕ (ครั้งที่ ๔) ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องเพื่อทราบ ๓.๑ แผนบริหารความเสี่ยงของสำนักงาน กกพ. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ ระเบียบวาระที่ ๕ เรื่องอื่นๆ (ถ้ามี)

3 เรื่องที่ประธานแจ้งที่ประชุมทราบ
ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งที่ประชุมทราบ

4 ระเบียบวาระที่ ๒.๑ รับรองรายงานการประชุม คณะทำงานบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในของ สำนักงาน กกพ. ครั้งที่ ๑/๒๕๕๕ (ครั้งที่ ๔) ฝ่ายเลขานุการฯ เวียนร่างรายงานการประชุมฯ ครั้งที่ ๓/๒๕๕๔ (ครั้งที่ ๓) และให้ ส่งกลับภายในวันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๕ ประธานคณะทำงานฯ (นางสาวนฤภัทร อมรโฆษิต) ให้เพิ่มเติมข้อความในระเบียบวาระที่ ๓.๑ ข้อ ๒ ให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น คณะทำงานฯ (นายชูศักดิ์ วงษ์สวัสดิ์) ปรับปรุงเพิ่มเติมข้อความในวาระที่ ๔.๒ การพิจารณา ของที่ประชุมข้อ ๒.๑ บรรทัดที่ ๒ ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ฝ่ายเลขานุการฯ ได้ปรับปรุงแก้ไขตามความเห็นของคณะทำงานแล้ว จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา

5 แผนบริหารความเสี่ยงของสำนักงาน กกพ. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕
ระเบียบวาระที่ ๓.๑ แผนบริหารความเสี่ยงของสำนักงาน กกพ. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕

6 ๑. ความเป็นมา S ๑ ประเด็น O ๕ ประเด็นหลัก (๙ ประเด็นย่อย) F ๒ ประเด็น
กำหนดกระบวนการบริหารความเสี่ยงของสำนักงาน เป็นการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management: ERM) ใช้แนวทางของ COSO ๙ มิ.ย. ๕๔ กกพ. เห็นชอบนโยบายการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน ให้สำนักงาน กกพ. จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ โดยให้ครอบคลุมความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล เพื่อให้มีการบริหารความเสี่ยงเชิงบูรณาการ ๒๔ พ.ย. ๕๔ กกพ. เห็นชอบแผนพัฒนาระบบการบริหารความเสี่ยง ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๗) S ๑ ประเด็น O ๕ ประเด็นหลัก (๙ ประเด็นย่อย) F ๒ ประเด็น C ๕ ประเด็น ๑๖ ม.ค. ๕๕ คณะทำงานฯ เห็นชอบกรอบความเสี่ยง ๒๐ ม.ค. ๕๕ Workshop “การบริหารความเสี่ยงเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับองค์กรปี พ.ศ. ๒๕๕๕” ๒๐ ม.ค. – ๑๐ ก.พ. ๕๕ ทุกฝ่ายวิเคราะห์ความเสี่ยงบนระบบ e-Risk ตามแนวทาง COSO ๑๐ ก.พ. – ๒๔ ก.พ. ๕๕ กส. ประมวลความเสี่ยง ๒๐ ม.ค. – ๒๔ ก.พ. ๕๕ จัดทำแผนบริหารความเสี่ยง

7 การวิเคราะห์ความเสี่ยง
การวิเคราะห์ความเสี่ยง (๑) : หลักการและแนวทางการวิเคราะห์ วิเคราะห์ความเสี่ยงตามมาตรฐาน COSO ให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมวิเคราะห์ คาดการณ์ความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น และระบุแนวทางการจัดการให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม-ยอมรับได้ หลักการ กรอบประเด็นความเสี่ยง พิจารณาจากความเห็นของผู้มีส่วนได้เสีย (กกพ. คณะกรรมการตรวจสอบ หน่วยงานภาครัฐ และการสำรวจความพึงพอใจต่อการกำกับกิจการพลังงาน) ทุกฝ่ายวิเคราะห์สาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง แผนจัดการความเสี่ยงเพื่อให้การดำเนินงานองค์กรบรรลุวิสัยทัศน์ และพันธกิจ(เบื้องต้นทุกฝ่ายกำหนดให้โอกาสที่จะเกิดและผลกระทบของทุกปัจจัยเสี่ยงอยู่ในระดับ ๕ (สูง)) การวิเคราะห์ความเสี่ยง

8 กรอบประเด็นความเสี่ยง ๑๗ ประเด็นที่คณะทำงานฯ เห็นชอบ
การวิเคราะห์ความเสี่ยง (๒) : คาดการณ์ความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น กรอบประเด็นความเสี่ยง ๑๗ ประเด็นที่คณะทำงานฯ เห็นชอบ เหลือ ๖ ประเด็น ความเสี่ยง และ ๑๐ ปัจจัยเสี่ยง สาเหตุ (Root causes) ประเด็นความเสี่ยง (Risk)

9 เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์การกำกับกิจการพลังงาน
ความเสี่ยงประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๕ : ๖ ความเสี่ยง ๑๐ ปัจจัยเสี่ยง (๑) S: การมีส่วนร่วมของภาคส่วนในการพัฒนาพลังงานยังไม่เพียงพอ O : การสูญเสียความเชื่อมั่นต่อองค์กรในการกระบวนการและมาตรฐานฯ RF_S1 การมีส่วนร่วมและการยอมรับจากประชาชนหรือการร่วมมือกับองค์กรอิสระน้อย RF_O1 ข้อร้องเรียนจากผู้ใช้พลังงาน และ ผู้มีส่วนได้เสียฯ RF_O2 ความล่าช้าของกระบวนการพิจารณาอุทธรณ์ร้องเรียนการวางเขตระบบโครงข่ายฯ RF_O3 ขาดมาตรฐานกระบวนการออกกฎหมายลำดับรองการกำกับฯ ความเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง ๑. ระดับวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์องค์กร เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์การกำกับกิจการพลังงาน จัดตั้ง คพข. และกองทุนฯ เป็นกลไกการมีส่วนร่วมต่อการพัฒนาระบบพลังงาน ข้อเสนอแนะจากภาคส่วนต่างๆ ในการพัฒนาการกำกับฯ และเพิ่มประสิทธิภาพพลังงาน ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงงานด้านกำกับฯ เพื่อสร้างแรงจูงใจให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบพลังงาน กระบวนการออกใบอนุญาตมีประสิทธิภาพ หลักเกณฑ์สากลโปร่งใสเป็นธรรม กำกับให้เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพบริการ มาตรฐานทางวิศวกรรมและความปลอดภัยฯ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ระบบส่ง ระบบจำหน่ายไฟฟ้าและก๊าซฯ กำกับดูแลอัตราค่าบริการให้มีความโปร่งใสและเป็นธรรม การบริหารจัดการการใช้อสังหาริมทรัพย์เพื่อวางระบบโครงข่ายฯ ที่ดีและมีการแข่งขันอย่างเป็นธรรมในการประกอบกิจการพลังงาน ประเทศไทยมีโครงสร้างพลังงานที่มีความมั่นคง เชื่อถือได้ ปลอดภัย O : การพัฒนาระบบบริหารจัดการภายในยังไม่พอต่อการเป็นองค์กรสมรรถนะสูงฯ RF_O4 : ฝ่ายงานรวบรวมองค์ความรู้ยังไม่เพียงพอ RF_O5 : การเกษียณบุคลากรที่มีความรู้ความชำนาญ จัดระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพสูง โปร่งใส เป็นธรรมเป็นที่ยอมรับในระดับสากล

10 ความเสี่ยงประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๕ : ๖ ความเสี่ยง ๑๐ ปัจจัยเสี่ยง (๒)
F: ความไม่มั่นคงทางการเงิน C : การปฏิบัติตาม พ.ร.บ. การประกอบฯ ไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ RF_F1 การบริหารเงินและสภาพคล่องไม่อยู่ในระดับเหมาะสม งบประมาณไม่เพียงพอฯ RF_C1 ความล่าช้าการออกกฎหมายลำดับรองฯ ที่ครบถ้วนสมบูรณ์ RF_C2 การไม่ปฏิบัติตามระเบียบ ประกาศ หลักเกณฑ์การนำส่ง-เบิกจ่ายเงินกองทุนฯ ที่ครบถ้วนสมบูรณ์ ความเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง ๒. ระดับสำนักงาน เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์การกำกับกิจการพลังงาน จัดระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพสูง โปร่งใส เป็นธรรมเป็นที่ยอมรับในระดับสากล C: โครงการของสำนักงาน กกพ. ไม่แล้วเสร็จตามกำหนด RF_O6 การกำกับการดำเนินงานยุทธศาสตร์ฯ ให้เป็นไปตามแผนและเป้าหมาย ความเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง ๓. ระดับโครงการ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์การกำกับกิจการพลังงาน จัดระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพสูง โปร่งใส เป็นธรรมเป็นที่ยอมรับในระดับสากล

11 การกำหนดความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (Risk Appetite) และระดับความเบี่ยงเบนที่ยอมรับได้ (Risk Tolerance)
มิติที่ 1 : มิติด้านประสิทธิผล ของการปฏิบัติงาน แสดงถึงผลที่บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายตามแผนยุทธสกพ. มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพ การให้บริการ แสดงถึงการให้ความสำคัญกับ การให้บริการที่มีคุณภาพของ สกพ. มิติที่ 3 : มิติด้านประสิทธิภาพ ของการปฏิบัติงาน แสดงความสามารถในการปฏิบัติ มิติที่ 4 : มิติด้านการกำกับดูแลกิจการและการพัฒนาองค์กร แสดงความสามารถในการจัดการองค์กร การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย การจัดการสารสนเทศ HR ร้อยละความสำเร็จของแผนปฏิบัติงาน เกณฑ์ 5 :การดำเนินงานได้ร้อยละ 85 ของแผนปฏิบัติงาน 13 KPIs ย่อย KPI 1 ตัว KPI 2 ตัว ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการจาก สกพ. เกณฑ์ 5 : พึงพอใจต่อการบริการของ สกพ. ร้อยละ 85 3. ร้อยละของระดับความสำเร็จในการสร้างเครือข่ายคุ้มครองสิทธิผู้ใช้พลังงาน เกณฑ์ 5 : การดำเนินงานได้ร้อยละ 85 ของแผนปฏิบัติงาน ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณในภาพรวม เกณฑ์ 5 : อัตราการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 80 ของงบประมาณรวม 5. การรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ 4 KPIs ย่อย : พิจารณาเรื่องร้องเรียน, พิจารณาออกใบอนุญาต,รายงานการประชุม, งานจัดการด้านที่ดิน 6. การบริหารจัดการองค์กร 4 KPIs ย่อย: PMQA, การประเมินผล, จัดทำแผนยุทธ์ใหม่, วางระบบตรวจสอบกองทุน ระดับความสำเร็จของ การดำเนินงานตามแผน พัฒนาCompetency ของบุคลากร เกณฑ์ 5 : ดำเนินงานได้ร้อยละ 90 ตามแผน ระดับความสำเร็จของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนปฏิบัติงานของสำนักงาน S1-6 KPI 3 ตัว S5 S6 S1,3,6 เป้าหมายการดำเนินงานองค์กร Risk Appetite กำหนดค่าเป้าหมาย ใช้เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัดการดำเนินงานของสำนักงาน กกพ. ปี 55 “ระดับ 5” Risk Tolerance กำหนดให้เบี่ยงเบนจากค่าเป้าหมายที่ยอมรับได้ลงมา ๑ ระดับ “ระดับ 4”

12 Risk Appetite และ Risk Tolerance : ระดับวัตถุประสงค์ขององค์กร
เป้าหมายปี ๕๕ Risk Appetite Risk Tolerance ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ( Strategic Risk ) การส่งเสริมการมีส่วนร่วมฯ ระดับความสำเร็จสร้างเครือข่ายฯ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๘๕ ระดับความพึงพอใจฯ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๘๕ - ๕ การพัฒนาองค์กร ความสำเร็จการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน ( Operational Risk ) การกำกับกิจการพลังงาน ความสำเร็จการออกใบอนุญาตเป็นไปตามมาตรฐานเวลาที่กำหนดไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๙๐ ความสำเร็จการพิจารณาเรื่องร้องเรียนตามมาตรฐานเวลากำหนดไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๙๐ ความสำเร็จการพิจารณางานด้านการจัดการที่ดินและทรัพย์สินตามกรอบเวลาที่กำหนดไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๘๐ ด้านพัฒนาองค์กร ความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนพัฒนา Competency ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๙๐ ความสำเร็จของการพัฒนางาน PMQA ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๑๐๐ -๑๐ ความเสี่ยงด้านการเงิน ( Financial Risk ) ประสิทธิภาพการบริหาร อัตราการเบิกจ่ายฯ ในภาพรวมไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๘๐ - ๒๐ ความเสี่ยงด้านการกำกับการปฏิบัติตามเกณฑ์ (Compliance Risk: C) การกำกับการปฏิบัติตามกฎหมาย ร้อยละความสำเร็จของแผนปฏิบัติงานไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๘๕ ความสำเร็จการจัดทำรายงานการประชุมตามกรอบเวลาที่กำหนดไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๘๕ ไม่มี

13 Risk Appetite และ Risk Tolerance : ระดับรายปัจจัยเสี่ยง
RF_S1 การมีส่วนร่วมฯ การมีส่วนร่วมฯเป็นไปตามเป้าหมายของแผนงานไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๕ - ๕ RF_O1 การร้องเรียนจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การพิจารณาเรื่องร้องเรียนฯตามมาตรฐานเวลาฯ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๙๐ RF_O2 ความล่าช้าของกระบวนการพิจารณาอุทธรณ์ฯ โครงข่าย การพิจารณาอุทธรณ์ฯ งานโครงข่ายตามเวลาที่กำหนดไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๘๐ RF_O3 ขาดมาตรฐานในกระบวนการออกระเบียบฯ ความพึงพอใจฯ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๘๕ RF_O4.ฝ่ายงานรวบรวมองค์ความรู้ยังไม่เพียงพอ ฝ่ายงานรวบรวมองค์ความรู้จำนวนฝ่ายงานละ ๑ องค์ความรู้ ไม่มี RF_O5. การเกษียณของบุคลากรที่มีความรู้ฯ ฝ่ายงานที่มีบุคลากรจะเกษียณอายุภายใน ๓ ปี จัดทำแผนสืบทอดตำแหน่งงานอย่างน้อย ๑ แผนงาน RF_O6. การกำกับงานไม่เป็นไปตามเป้าหมาย ความสำเร็จเฉลี่ยของแผนปฏิบัติงานโครงการไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๙๐ RF_F1 การบริหารเงินฯไม่อยู่ในระดับที่เหมาะสมประมาณการงบประมาณไม่เพียงพอ การใช้จ่ายเงินงบประมาณตรงกับความเป็นจริงหรือตรงกับช่วงเวลาที่ประมาณการ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๙๐ -๕ RF_C1 ความล่าช้าในกระบวนการออกระเบียบฯที่ครบถ้วนสมบูรณ์ ความสำเร็จของแผนปฏิบัติงานในการออกระเบียบฯ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๙๐ RF_C2 การไม่ปฏิบัติตามระเบียบฯ นำส่ง-เบิกจ่ายเงินกองทุนฯ ครบถ้วนสมบูรณ์ ผู้รับใบอนุญาตฯ ปฏิบัติตามระเบียบ หลักเกณฑ์การนำส่งและเบิกจ่ายเงินกองทุนไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๙๐

14 แผนงานการบริหารจัดการความเสี่ยงปี ๒๕๕๕ (๑)
๑๐ ปัจจัยเสี่ยงใช้ควบคุม แผนงานสร้างเครือข่ายฯ และจัดทำระบบฐานข้อมูลเครือข่าย (คส.) แผนกลยุทธ์การสื่อสารองค์กร (กส.) ยกระดับกองทุนเป็นศูนย์กลางการพัฒนาชุมชน (กฟ.) การสำรวจความพึงพอใจฯ (กส./บญ.) RF_S1 การมีส่วนร่วมและการยอมรับจากประชาชนหรือการร่วมมือกับองค์กรอิสระน้อย RF_O1 ข้อร้องเรียนจากผู้ใช้พลังงาน และ ผู้มีส่วนได้เสียฯ กำหนดเงื่อนไขประกอบการอนุญาตให้ครบถ้วน (บญ) ติดตาม ตรวจสอบมาตรฐานวิศวกรรม ความปลอดภัยและมาตรฐานคุณภาพบริการสม่ำเสมอ (บญ , วส) บูรณาการการรับเรื่องร้องเรียน (สข คส ) RF_O3 ขาดมาตรฐานกระบวนการออกกฎหมายลำดับรองการกำกับ บูรณาการความร่วมมือการยกร่างและทบทวนกฎหมายลำดับรองฯ (กระบวนการ ระยะเวลา ความรับผิดชอบ ข้อมูล) (กม. และฝ่ายงานที่เกี่ยวข้อง) วางระบบติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน (กส) กำหนดให้มีการชี้แจงและทำความเข้าใจระเบียบ และแนวทางการปฏิบัติ (กม และ ทุกฝ่าย) กำหนดกระบวนการพิจารณาอุทธรณ์การใช้อสังหาริมทรัพย์ให้ชัดเจน (จส) RF_O2 ความล่าช้าของกระบวนการพิจารณาอุทธรณ์ร้องเรียนการวางเขตระบบโครงข่ายฯ สำรวจความรู้ภายในสำนักงาน และวางแผนรวบรวมองค์ความรู้ และแลกเปลี่ยนความรู้ (กส) วางแผนสื่อสารภายในองค์กรเพื่อความร่วมมือ (กส) ส่งเสริมให้นำระบบ Kmportal มาใช้ (ทส) พิจารณาจัดทำองค์ความรู้อย่างน้อย ๑ องค์ความรู้ RF_O4 : ฝ่ายงานรวบรวมองค์ความรู้ยังไม่เพียงพอ วางแผนเพื่อการสืบทอดตำแหน่งงาน (บก) ฝ่ายที่มีบุคลากรจะเกษียณอีก ๓ ปี ข้างหน้าจัดทำแผนสืบทอดตำแหน่งงานอย่างน้อย ๑ แผนงาน RF_O5 : การเกษียณบุคลากรที่มีความรู้ความชำนาญ ทบทวนโครงสร้างสำนักงาน ระดับตำแหน่งงาน อัตรากำลังคนสนับสนุนการปฏิบัติงาน ดำเนินการตามเกณฑ์ PMQA อย่างต่อเนื่อง (Plan Do Check Act)

15 แผนงาน มาตรการ กิจกรรมเพื่อบริหารจัดการความเสี่ยง ของสำนักงาน กกพ
แผนงาน มาตรการ กิจกรรมเพื่อบริหารจัดการความเสี่ยง ของสำนักงาน กกพ. ปี ๒๕๕๕ (๒) ๑๐ ปัจจัยเสี่ยงใช้ควบคุม ศึกษากำหนดวิธีและ ตัวแปรในการประมาณ การค่าธรรมเนียม เพื่อให้ แม่นยำยิ่งขึ้น (บญ) ออกมาตรการการกำกับ การเบิกจ่ายให้เป็นไป ตามแผน (บก. กส) พิจารณากลั่นกรอง จัดสรรเงินกองทุนฯ ให้ สอดคล้องเหมาะสมกับ แผนงานกองทุนฯ (กฟ) RF_F1 การบริหารเงินและสภาพคล่องไม่อยู่ในระดับเหมาะสม งบประมาณไม่เพียงพอฯ RF_C1 ความล่าช้าการออกกฎหมายลำดับรองฯ ที่ครบถ้วนสมบูรณ์ บูรณาการความ ร่วมมือการยกร่างและ ทบทวนกฎหมาย ลำดับรองฯ (กระบวนการ ระยะเวลา ความ รับผิดชอบ ข้อมูล) (กม. และฝ่ายงานที่ เกี่ยวข้อง) แผนพัฒนาองค์ ความรู้ด้านกฎหมาย บุคคลภายในและ ภายนอก (กม) RF_C2 การไม่ปฏิบัติตามระเบียบ ประกาศ หลักเกณฑ์การนำส่ง-เบิกจ่ายเงินกองทุนฯ ที่ครบถ้วนสมบูรณ์ ชี้แจงผู้รับ ใบอนุญาตผลิต ไฟฟ้าแนวทางการ ปฏิบัติตามระเบียบ แผนสื่อสาร วางกระบวนการ ติดตามและ ประเมินผลการ ดำเนินงานกองทุน และการตรวจสอบ วางแผนการติดตาม การกำกับการดำเนิน โครงการ/กิจกรรม ติดตามความก้าวหน้า อย่างต่อเนื่อง คณะทำงานติดตามฯ และนำระบบ E Tracking ในการ ติดตามความคืบหน้า การดำเนินงาน RF_O6 การกำกับการดำเนินงานยุทธศาสตร์ฯ ให้เป็นไปตามแผนและเป้าหมาย ทบทวนโครงสร้างสำนักงาน ระดับตำแหน่งงาน อัตรากำลังคนสนับสนุนการปฏิบัติงาน ดำเนินการตามเกณฑ์ PMQA อย่างต่อเนื่อง (Plan Do Check Act)

16 ประเด็นเพื่อพิจารณา แผนบริหารความเสี่ยงสำนักงาน กกพ. ประจำปี ๒๕๕๕ คำนำ ส่วนที่ ๑ วัตถุประสงค์ของแผนการบริหารความเสี่ยง ส่วนที่ ๒ นโยบายการบริหารความเสี่ยง ส่วนที่ ๓ โครงสร้างการบริหารความเสี่ยง ส่วนที่ ๔ การเชื่อมโยงการบริหารความเสี่ยงกับยุทธศาสตร์ การกำกับกิจการพลังงาน พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๕๕ วิสัยทัศน์ พันประเด็นความเสี่ยงสำนักงาน กกพ. ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ พันธกิจ และแผนยุทธศาสตร์การกำกับกิจการพลังงาน พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๕๕ ความเชื่องโยงประเด็นความเสี่ยงกับเป้าประสงค์เชิง ยุทธศาสตร์การกำกับกิจการพลังงาน ส่วนที่ ๕ ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (Risk Appetite) และระดับ ความเบี่ยงเบนที่ยอมรับได้ (Risk Tolerance) ระดับวัตถุประสงค์ของสำนักงาน กกพ. ระดับรายปัจจัยเสี่ยง ส่วนที่ ๖ การวิเคราะห์ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน ของสำนักงาน กกพ. ส่วนที่ ๗ สรุปประเด็นความเสี่ยงและปัจจัยเสี่ยงคงเหลือของ สำนักงาน กกพ. ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ส่วนที่ ๘ แผนงาน มาตรการ กิจกรรมเพื่อบริหารจัดการความ เสี่ยง ภาคผนวก ๑. เห็นชอบแผนบริหารความเสี่ยงของสำนักงาน กกพ. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ ๒. มอบหมายให้ฝ่ายเลขานุการฯ นำเสนอแผนดังกล่าวต่อเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน และ คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงานเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบต่อไป จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา

17 ข้อมูลสนับสนุน

18 สภาพแวดล้อมภายในองค์กร
กรอบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน กระบวนการบริหารความเสี่ยงตามมาตรฐาน COSO ใช้แนวทางของ COSO - ERM Enterprise Risk โดยให้บุคลากรในองค์กรได้มีส่วนร่วมในการคิด วิเคราะห์ และคาดการณ์ถึงเหตุการณ์ หรือความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น รวมทั้งการระบุแนวทางในการจัดการกับความเสี่ยงดังกล่าวให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมหรือยอมรับได้ เพื่อช่วยให้องค์กรบรรลุในวัตถุประสงค์ที่ต้องการ ตามกรอบวิสัยทัศน์ และพันธกิจขององค์กร โดยมีการวิเคราะห์ ๘ องค์ประกอบ 1 2 4 3 5 8 สภาพแวดล้อมภายในองค์กร การกำหนดวัตถุประสงค์ การบ่งชี้เหตุการณ์ การประเมินความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง กิจกรรมควบคุม สารสนเทศและการสื่อสาร การติดตามประเมินผล 7 6 ที่มา : Committee of Sponsoring Organizations of The Treadway Commission (COSO)

19 กรอบการบริหารความเสี่ยง (2)
Strategy Risk Financial Risk Operational Risk Compliance Risk ปัจจัยด้านกระบวนการบริหารจัดการ การเกษียณอายุของบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญและการสืบทอดตำแหน่งงาน ปัจจัยด้านกระบวนการกำกับดูแล การพัฒนาการติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติงาน ความเพียงพอของกระบวนการและข้อมูลต่อการดำเนินงานของสำนักงาน เช่น แผน EIA ก่อน-หลังก่อสร้างโรงไฟฟ้า ความเพียงพอของกระบวนการติดตาม ประเมินผล การตรวจสอบของกองทุนฯ ความเพียงพอของกระบวนการ+ข้อมูลกองทุนฯ ความเพียงพอและประสิทธิภาพของ IT ในการดำเนินงานของสำนักงานและกองทุนฯ ปัจจัยด้านระบบการควบคุมภายใน ไม่มีการระงับหรือยุติกิจกรรมที่มีระดับความเสี่ยงเกินกว่าจะยอมรับได้ ปัจจัยด้านการจัดการองค์ความรู้ ฝ่ายขาดการรวบรวมองค์ความรู้ที่จำเป็น ปัจจัยด้านการดำเนินโครงการ การบริหารโครงการ (ความชัดเจนแผนงาน การแบ่งแยกหน้า การบริหารจัดการโครงการ) ปัจจัยจากภายนอกองค์กร เสี่ยงจากการมีส่วนร่วมจากภาคประชาชนหรือการร่วมมือกับองค์กรอิสระ ความเสี่ยงการบริหารเงินและสภาพคล่องทางการเงินไม่ถูกต้องไม่อยู่ในระดับที่เหมาะสม การประมาณการงบประมาณไม่เพียงพอและไม่สอดคล้องกับขั้นตอนการดำเนินการ การออกระเบียบ ประกาศ หลักเกณฑ์การกำกับกิจการพลังงานครบถ้วนสมบูรณ์ ความเสี่ยงจากการปฏิบัติตาม พ.ร.บ. การประกอบการฯ ความเสี่ยงจากการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์ กองทุนฯ ความเสี่ยงจากข้อร้องเรียนจากภาคประชาชน ผู้ใช้พลังงาน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากการกำกับการประกอบกิจการพลังงาน ความเสี่ยงกระบวนการพิจารณาอุทธรณ์ร้องเรียนการวางเขตระบบโครงข่ายพลังงาน วิเคราะห์ SWOT การดำเนินการยุทธ์ การดำเนินการเรื่อง งบ/ เบิกจ่าย พรบ. และ ระเบียบการดำเนินงาน เกี่ยวข้องกับ PMQA และ ระบบ IT งานกำกับกิจการพลังงาน ใบอนุญาต มาตรฐานวิศว/ คุณภาพ การใช้และ เชื่อมต่อ โครงข่าย คุ้มครอง ผู้ใช้บริการ ราคา และต้นทุน/ แข่งขัน PSO/USO ที่มา : มติคณะทำงานบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในของสำนักงาน กกพ. เมื่อวันที่ 16 ม.ค. 55 หมายเหตุ: กรอบการบริหารความเสี่ยงวิเคราะห์จากความเห็นของผู้มีส่วนได้เสีย (กกพ. คกก. ตรวจสอบ หน่วยงานภาครัฐ สำรวจความพึงพอใจต่อการกำกับฯ )

20 การดำเนินงานตามกฎหมาย
1 การดำเนินงานตามกฎหมาย 2 การดำเนินงานตามแผนยุทธฯ หน้าที่ของ กกพ. และ สกพ. การกำกับดูแลการประกอบกิจการพลังงาน - การอนุญาตการประกอบกิจการ - อัตราค่าบริการ - การกำหนดมาตรฐานและความปลอดภัย - ระบบโครงข่ายพลังงาน และศูนย์ควบคุม การคุ้มครองผู้ใช้พลังงาน - มาตรฐานการให้บริการ และการบริการทั่วถึง - กองทุนพัฒนาไฟฟ้า - คณะกรรมการผู้ใช้พลังงานประจำเขต การใช้อสังหาริมทรัพย์ การพิจารณาข้อพิพาทและการอุทธรณ์ พนักงานเจ้าหน้าที่ การบังคับทางปกครอง บทกำหนดโทษ ยุทธศาสตร์ที่ 1: การออกใบอนุญาตฯ ยุทธศาสตร์ที่ 2: การส่งเสริมการประกอบกิจการและ การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 3: การบริหารจัดการที่ดีและการแข่งขัน อย่างเป็นธรรมในการประกอบกิจการพลังงาน ยุทธศาสตร์ที่ 4: การส่งเสริมโครงสร้างพลังงานของ ประเทศให้มีความมั่นคง เชื่อถือได้และปลอดภัย ยุทธศาสตร์ที่ 5: การส่งเสริมการมีส่วนร่วมต่อการ พัฒนาระบบพลังงาน ยุทธศาสตร์ที่ 6: การพัฒนาองค์กรฯ การดำเนินงานตาม แผนยุทธศาสตร์ฯ text การดำเนินงานตามกฎหมาย งานประเมิน KPI (ทุกระดับ) text KPI ที่ตอบสนองงานตามกฎหมายและงานตามแผนยุทธ์ ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ ระดับความสำเร็จของ แผน พัฒนาCompetency ของบุคลากร การรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ ร้อยละความสำเร็จของแผนปฏิบัติงาน: ข้อเสนอแนะการออกใบอนุญาตผลิตไฟฟ้า ตาม ม.48 %ความสำเร็จการกำหนดหลักเกณฑ์ และ เงื่อนไขการออกใบอนุญาต %ความสำเร็จการวางระบบตรวจสอบและกำกับการดำเนินงานของสถานประกอบการ %ความสำเร็จการทบทวนมาตรฐานคุณภาพบริการไฟฟ้าและก๊าซธรรมชาติ %ความสำเร็จการวางระบบการรับเรื่องร้องเรียนและจัดทำฐานข้อมูล %ความสำเร็จการจัดทำหลักการปฏิบัติงานการดำเนินงานของโรงไฟฟ้า %ความสำเร็จการจัดทำข้อเสนออัตราค่าไฟฟ้าที่จะใช้ประกาศในปี %ความสำเร็จการจัดทำข้อเสนอการปรับค่าไฟฟ้าตามสูตร Ft %ความสำเร็จการจัดทำข้อเสนอ Third Party Access และ Wheeling Charges กำกับการติดตามการรับซื้อไฟฟ้าเพื่อเป็นไปตามแผน PDP %ความสำเร็จการจัดทำข้อเสนอมาตรการทางเลือกการจัดหาไฟฟ้า %ความสำเร็จการจัดทำข้อเสนอแนวทางการวางหลักเกณฑ์ USO %ความสำเร็จการสร้างความร่วมมือด้านวิชาการด้านการกำกับกิจการพลังงาน %ความสำเร็จจำนวนแผนกองทุนพัฒนาไฟฟ้าตาม ม. 97 (3) %ความสำเร็จการวางระบบติดตามและประเมินผลกองทุนพัฒนาไฟฟ้า ม.97 (3) %จำนวนระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศตาม พรบ. %ความสำเร็จข้อเสนอค่าทดแทนทรัพย์สินการวางเขตระบบโครงข่ายพลังงาน (พิจารณาเรื่องร้องเรียน, พิจารณาออกใบอนุญาต, รายงานการประชุม, งานจัดการด้านที่ดิน) การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การบริหารจัดการองค์กร (PMQA.ประเมินผล. Rolling Plan, ระบบตรวจสอบกองทุนฯ) ร้อยละของอัตรา การเบิกจ่ายเงินงบประมาณในภาพรวม

21 มติคณะกรรมการตรวจสอบ (๒๑ ธ.ค. ๒๕๕๔)
ให้สำนักงาน กกพ. พิจารณาปรับปรุงหนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน (ปอ. ๑) ให้เห็นภาพรวมเรื่องการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในของสำนักงาน กกพ. มากขึ้น ให้แนวทางการทำงานต่อไป โดยเน้นว่า ระบบฯ ควรปรับปรุงพัฒนาให้สะท้อนความเสี่ยงในทุกมิติและสอดคล้องกับสถานการณ์ เช่นความเสี่ยงงานกองทุนพัฒนาไฟฟ้าและงานกำกับกิจการพลังงาน มากกว่าเป็นเพียงระบบฯ เพื่อการจัดทำรายงานการควบคุมภายในซึ่งใช้หลักการประเมินตนเอง หมายเหตุ: สำนักงาน กกพ. จะนำความเห็นเรื่องการพิจารณาความเสี่ยงงานกองทุนพัฒนาไฟฟ้า และงานกำกับกิจการพลังงานไปประกอบการพิจารณาการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงของสำนักงานต่อไป ทั้งนี้ สำนักงานฯ อยู่ระหว่างการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงสำนักงาน กกพ. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ วัน/เดือน/ปี กิจกรรม หน่วยงาน ๑๖ ม.ค. ๒๕๕๕ กำหนดกรอบการวิเคราะห์ประเด็นความเสี่ยงของสำนักงาน กกพ. คณะทำงานฯ ๒๐ ม.ค. ๒๕๕๕ อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การประเมินผลและจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงปี พ.ศ. ๒๕๕๕” ผอ., ผู้ประสานงาน ๖ ก.พ. ๒๕๕๕ กำหนดเป้าหมาย และเกณฑ์ Risk Appetite และ Risk tolerance ขององค์กรและโครงการ รวมทั้ง พิจารณากลั่นกรองแผนบริหารความเสี่ยงฯ ๗-๒๘ ก.พ. ๒๕๕๕ เสนอแผนบริหารความเสี่ยงต่อ ลกพ. และ กกพ. เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ หมายเหตุ: หารือกับ กกพ. ก่อนเสนอในการประชุม กกพ. เพื่อพิจารณาให้ความ เห็นชอบ คณะทำงานฯ/ลกพ. เสนอแผนบริหารความเสี่ยงต่อคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อทราบ

22 ประเด็นความเสี่ยงของสำนักงาน ปี ๒๕๕๕ (๒)
ประเด็นความเสี่ยงของสำนักงาน ปี ๒๕๕๕ (๒) ลำดับ ประเด็นความเสี่ยง ที่มาประเด็นความเสี่ยง ๑. ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk: S) ๑.๑ - ความเสี่ยงจากการมีส่วนร่วมจากภาคประชาชนหรือการร่วมมือกับองค์กรอิสระ ความเห็นจาก สศช. ประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรีเรื่อง แผนการดำเนินงานฯ พ.ศ. ๒๕๕๕ : ให้สำนักงาน กกพ. พิจารณากำหนดให้การรับฟังความคิดเห็นจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเป็นกลไกหนึ่งในการประเมินผลการปฏิบัติงานของสำนักงาน รวมทั้ง ควรมีการแสดงผลการดำเนินงานจริงในปีที่ผ่านมาเทียบกับเป้าหมายที่ได้ประมาณการไว้ ๒. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risk: O) ๒.๑ ปัจจัยด้านกระบวนการบริหารจัดการ: ความเสี่ยงการเกษียณอายุของบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญและการสืบทอดตำแหน่งงาน ข้อสังเกตของ กกพ. ในการประชุมเมื่อวันที่ เมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๕๔ เรื่องนโยบายการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในของสำนักงาน กกพ. : ให้สำนักงาน กกพ.พิจารณาการสืบทอดตำแหน่งเพื่อเตรียมพร้อมในการเตรียมบุคลากรรองรับบุคลากรที่จะเกษียณในแผนบริหารความเสี่ยงของสำนักงาน ๒.๒ ปัจจัยด้านการจัดการองค์ความรู้ : - ความเสี่ยงบุคลากรฝ่ายงานรวบรวมองค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติหน้าที่ยังไม่เพียงพอ ปัญหาการปฏิบัติงานที่เกิดขึ้นในรอบปี ๒๕๕๔

23 ประเด็นความเสี่ยงของสำนักงาน ปี ๒๕๕๕ (๓)
ประเด็นความเสี่ยงของสำนักงาน ปี ๒๕๕๕ (๓) ลำดับ ประเด็นความเสี่ยง ที่มาประเด็นความเสี่ยง ๒.๓ ปัจจัยด้านกระบวนการกำกับดูแล : - ความเสี่ยงการออกระเบียบ ประกาศ หลักเกณฑ์การกำกับกิจการพลังงาน - ความเสี่ยงการพัฒนาการติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติงาน - ความเสี่ยงความเพียงพอของกระบวนการและข้อมูล ส่งผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดำเนินงานของสำนักงาน - ความเสี่ยงความเพียงพอของกระบวนการติดตาม ประเมินผล การตรวจสอบการดำเนินงานของกองทุนพัฒนาไฟฟ้า - ความเสี่ยงความเพียงพอของกระบวนการและข้อมูลส่งผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลการดำเนินงานของกองทุนพัฒนาไฟฟ้า - ความเสี่ยงความเพียงพอและประสิทธิภาพของเทคโนโลยีสารสนเทศหรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินงานของสำนักงานและกองทุนพัฒนาไฟฟ้า - การประเมินความพึงพอใจของ Stakeholders ต่อการกำกับกิจการพลังงาน : วิเคราะห์วิจัยน้อยไป, การมีส่วนร่วมในการกำหนดกฎระเบียบ และหลักเกณฑ์การกำกับยังไม่ชัดเจน - ความเห็นจากกระทรวงการคลังประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรีเรื่อง แผนการดำเนินงานฯ พ.ศ. ๒๕๕๕ : สำนักงาน กกพ. ควรมีการแสดงผลการดำเนินงานจริงในปีที่ผ่านมาเทียบกับเป้าหมายที่ได้ประมาณการไว้ และปัญหาการปฏิบัติงานที่เกิดขึ้นในรอบปี ๒๕๕๔ - คณะกรรมการตรวจสอบ (คณะกรรมการฯ) เมื่อวันที่ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๕๔ ให้ สกพ. พิจารณาการประเมินความเสี่ยงองค์กรให้ครอบคลุมและสะท้อนความเป็นจริงของสำนักงาน โดยให้ความสำคัญในการพิจารณาความเสี่ยงงานกองทุนพัฒนาไฟฟ้าและงานกำกับกิจการพลังงาน ๒.๔ ปัจจัยด้านการดำเนินโครงการ : - ความเสี่ยงการบริหารโครงการ เช่น ความชัดเจนของแผนงาน/กิจกรรม การแบ่งแยกหน้าที่ไม่เหมาะสม ขาดการจัดการทำให้การกำกับโครงการไม่เป็นไปตามเป้าหมาย ปัญหาการปฏิบัติงานที่เกิดขึ้นในรอบปี ๒๕๕๔

24 ประเด็นความเสี่ยงของสำนักงาน ปี ๒๕๕๕ (๔)
ประเด็นความเสี่ยงของสำนักงาน ปี ๒๕๕๕ (๔) ลำดับ ประเด็นความเสี่ยง ที่มาประเด็นความเสี่ยง ๓. ความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risk: F) ๓.๑ ความเสี่ยงการบริหารเงินและสภาพคล่องทางการเงินไม่ถูกต้องไม่อยู่ในระดับที่เหมาะสม การประมาณการงบประมาณไม่เพียงพอและไม่สอดคล้องกับขั้นตอนการดำเนินการ ความเห็นจาก สศช.ประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรีเรื่อง แผนการดำเนินงานฯ พ.ศ. ๒๕๕๕ : ให้สำนักงาน กกพ. จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงด้านงบประมาณของสำนักงาน โดยเฉพาะกรณีที่มีการจัดเก็บรายได้ค่าธรรมเนียมจริงได้ต่ำกว่าที่ประมาณการไว้ ควบคู่ไปกับการบริหารจัดการค่าใช้จ่ายอย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อให้มีการใช้จ่ายรายได้เกิดประโยชน์สูงสุด รวมทั้งเพื่อให้มีเงินเหลือส่งคืนคลังสำหรับพัฒนาประเทศต่อไป ๔. ความเสี่ยงด้านการกำกับการปฏิบัติตามกฎหมาย (Compliance Risk: C) ๔.๑ ความเสี่ยงจากการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ ที่ครบถ้วนสมบูรณ์ ความเสี่ยงจากการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์การนำส่งและการเบิกจ่ายเงินกองทุนพัฒนาไฟฟ้า ความเสี่ยงจากข้อร้องเรียนจากภาคประชาชน ผู้ใช้พลังงาน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากการกำกับการประกอบกิจการพลังงาน ความเสี่ยงกระบวนการพิจารณาอุทธรณ์ร้องเรียนการวางเขตระบบโครงข่ายพลังงาน ปัญหาการปฏิบัติงานที่เกิดขึ้นในรอบปี ๒๕๕๔ คณะกรรมการตรวจสอบ (คณะกรรมการฯ) เมื่อวันที่ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๕๔ ให้ สกพ. พิจารณาการประเมินความเสี่ยงองค์กรให้ครอบคลุมและสะท้อนความเป็นจริงของสำนักงาน โดยให้ความสำคัญในการพิจารณาความเสี่ยงงานกองทุนพัฒนาไฟฟ้าและงานกำกับกิจการพลังงาน


ดาวน์โหลด ppt ระเบียบวาระการประชุม คณะทำงานบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในของ สกพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google