งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด
และกลุ่มจังหวัด สำนักพัฒนาและส่งเสริมการบริหารราชการจังหวัด สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย

2 ประเด็นการนำเสนอ การบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
1.1 โครงสร้างการบริหารราชการและปัญหาการบริหางานในส่วนภูมิภาค 1.2 แนวความคิดในการบริรงานจังหวัดแบบบูรณาการ 1.3 การนำร่องและการบริหารงานจังหวัด/กลุ่มจังหวัด 1.4 แนวคิดหลักผู้นำ (ทีมงาน) บูรณาการ

3 ประเด็นการนำเสนอ 2. แผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
2.1 ที่มา : กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2.2 กลไกการบริหารงานจังหวัด/กลุ่มจังหวัด 2.3 แนวทางการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด 2.4 การขับเคลื่อนและกระบวนการสร้างความร่วมมือ 2.5 หลักเกณฑ์และแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด 2.6 ปัญหาการจัดทำแผนพัฒนาและแผนปฏิบัติราชการประจำปี และการจัดทำโครงการ 3.ปัจจัยความสำเร็จ

4 โครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน
(พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม) ราชการบริหารส่วนกลาง (Centralization) สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง / ส่วนราชการที่มีฐานะเทียบเท่า กระทรวง กรม / ส่วนราชการที่มีฐานะเทียบเท่ากรม ราชการบริหารส่วนภูมิภาค (Deconcentration) จังหวัด อำเภอ - ตำบล / หมู่บ้าน (การปกครองท้องที่) องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล การปกครองรูปแบบพิเศษ (กทม.และ เมืองพัทยา) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Decentralization)

5 การบริหารราชการในส่วนภูมิภาค ปัญหาความต้องการของประชาชน
กระทรวง/ส่วนราชการ กรม กระทรวง/ส่วนราชการ กรม กระทรวง/ส่วนราชการ กรม ผู้ว่าราชการจังหวัด 50-250 หน่วยงาน 33 หน่วยงาน หน่วยงานส่วนกลาง หน่วยงานส่วนภูมิภาค ปัญหาความต้องการของประชาชน

6 :สังกัดราชการบริหารส่วนกลางที่ตั้งในจังหวัด
จำนวนหน่วยงาน (ข้อมูล พ.ศ. 2553) ส่วนราชการ/หน่วยงาน จำนวน :สังกัดราชการบริหารส่วนกลางที่ตั้งในจังหวัด :สังกัดราชการบริหารส่วนภูมิภาค 33

7 ปัญหาการบริหารงานจังหวัดโดยรวม
การพัฒนาและ แก้ไขปัญหา ในพื้นที่ ปัญหาด้าน ประสิทธิภาพ การบริหารงาน ประชาชน การขาดเอกภาพ  ต่างคนต่างทำ  ขาดการ มีส่วนร่วม ซ้ำซ้อน สิ้นเปลือง กลไกการบริหาร จัดการ  ขาดยุทธศาสตร์ การพัฒนา ร่วมกัน

8 แนวความคิดในการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ
: CEO (Chief Executive Officer) ผู้ว่าราชการจังหวัด : ประโยชน์สุขของประชาชน จุดมุ่งหมาย : การบูรณาการ หลักการ

9 การบริหารงานจังหวัดผู้ว่าราชการจังหวัด มีบทบาทซ้อนกันในหลายมิติ
การบริหารงานจังหวัดผู้ว่าราชการจังหวัด มีบทบาทซ้อนกันในหลายมิติ Top-Down Bottom-Up Global Local Centralization Decentralization Vision Action Modernization Grass root Macro Micro Competition Cooperation เส้นแสดงมุมมอง/บทบาทของผู้ว่าราชการจังหวัด “ผู้ว่าราชการจังหวัดแต่ละคนอาจมีมุมมองแต่ละเรื่องต่างกัน”

10 Area Conduct / Deliver Executive Operate Directing Facilitate
การทำงานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์และประโยชน์ของประชาชน Conduct / Deliver Executive ประชาชน Area Operate Board กบจ. Directing ผวจ. Facilitate Coordinate Supportor Strategy Management ปัญหาความต้องการของประชาชน

11 กระบวนการบริหารจัดการ
- ใช้ IT MIS GIS WWW Data - Based - เครื่องมือการบริหาร - Knowledge - Participation - วัดประเมินผล - คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ - ทีมงาน - ภาคีการพัฒนา - Outsourcing Management & Evaluation การบริหารจังหวัด แบบบูรณาการ Organization - SWOT - Target - KPI Strategy

12 การทำงานเปิดความคิดให้กว้าง ระดมความคิด รับฟังความเห็น
มองการจัดการและพัฒนาแบบ Clustering และสร้าง Value Chain

13 กลยุทธ์ในการทำงาน พันธมิตรด้านธุรกิจ (Alliance Strategy) Benchmarking Bonsai – Growth Strategy Buzz Strategy Clustering Strategy Core Competency] etc. 1 2 3 4 5 6

14 วางแผนยุทธศาสตร์ให้สอดคล้องกับ สภาวแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง
วางแผนยุทธศาสตร์ให้สอดคล้องกับ สภาวแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง E E E = สิ่งแวดล้อม Environment 2 1 2 S S S = ยุทธศาสตร์ Strategic 2 1 C C C = ขีดความสามารถ Capacity 1 2 14

15 การควบคุมและกำกับยุทธศาสตร์
ประสิทธิผล คุณภาพ ประสิทธิภาพ การพัฒนาองค์กร และสมรรถภาพ

16 ปัจจัยความสำเร็จ - ภาวะผู้นำของผู้ว่าราชการจังหวัด
- การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน

17 แนวคิดหลักผู้นำ (ทีมงาน) แบบบูรณาการ
การบริหาร จัดการ องค์ความรู้ เชิงรุก แนวราบ มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน การกำหนดทิศทาง ยุทธศาสตร์ การจัดการองค์ความรู้ การเรียนรู้ตลอดชีวิต การวิจัย และพัฒนา การมีส่วนร่วม (หุ้นส่วน ทีมงาน เครือข่าย เจ้าภาพ) การระดมทรัพยากร

18 การประสานสัมพันธ์ การสร้างเครือข่าย และการทำงานแบบบูรณาการ
การประสานสัมพันธ์ การสร้างเครือข่าย และการทำงานแบบบูรณาการ ความสำคัญของ การร่วมมือใน และ ระหว่างหน่วยงาน การแข่งขัน โอกาส และความเสี่ยง กระแสโลกาภิวัฒน์ ความเชี่ยวชาญ เฉพาะด้าน การเข้าสู่สังคม เรียนรู้ การปฏิบัติในเชิงรุก วัฒนธรรมแบบมี ส่วนร่วม ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี

19 A Stakeholder map for a Government
Political Parties Citizens Governing Body Financial Community Other Government Future Generations Supplies Interest Groups GOVERNMENT Competitors Taxpayers Service Recipients Media Unions Employees ที่มา : Pro. H. Kurt Christensen 9 กันยายน หัวหิน

20 ประเภทของเครือข่าย Work Network (เครือข่ายการทำงานปกติ) Social Network
(เครือข่ายทางสังคม) Innovation Network (เครือข่ายนวัตกรรม) Expert Knowledge Network (เครือข่ายความรู้ที่เป็นความเชี่ยวชาญ) Career Guidance หรือ Strategy Network (เครือข่ายแนะนำวิชาชีพหรือ เครือข่ายกลยุทธ์) Learning Network (เครือข่ายการเรียนรู้) Political Network (เครือข่ายการเมือง) Spiritual Network (เครือข่ายทางจิตวิญญาณ) positional Cultural Relation (ตำแหน่ง / ฐานะในองค์กร) (ความสัมพันธ์) (สัญลักษณ์ ความหมาย ) ที่มา : ศ.ดร.ชัยอนันต์ สมุทรวณิช : 12 กันยายน ณ โรงแรม ไฮแอท รีเจนซี่ หัวหิน

21 ปัจจัยเอื้อ : ผู้นำ (ทีมงาน) แบบบูรณาการ
องค์ความรู้ เชื่อมโยงได้ตรงประเด็นครบถ้วน กรอบความคิด มุมมอง ลึก กว้างไกล รอบคอบ ครบถ้วน ซับซ้อน การตัดสินใจ เป็นระบบ จากเรื่องเล็กสู่การแก้ปัญหาในภาพรวม ผลประโยชน์ - ประสานประโยชน์ของทุกฝ่าย จัดการความ ขัดแย้งเกิดจิตสำนึกสาธารณะ และความ สมานฉันท์ - ลดความซ้ำซ้อน สิ้นเปลืองทรัพยากร

22 “การบริหารจัดการไม่มีอะไรมากกว่าไปการจูงใจให้คนอื่นทำงาน” Lee Iacocca
ที่มา : การบริหารความคิดของนักบริหาร โดย ศาสตราจารย์ ดร. ศุภชัย ยาวะประภาษ เมื่อวันที่ 21 ส.ค ณ กระทรวงมหาดไทย 22 22

23 จึงไม่ใช่คนที่ลงมือทำทุกเรื่องด้วยตัวเอง คนที่ทำทุกเรื่องด้วยตัวเอง
คนที่ “บริหาร” จึงไม่ใช่คนที่ลงมือทำทุกเรื่องด้วยตัวเอง คนที่ทำทุกเรื่องด้วยตัวเอง แม้ชื่อตำแหน่งจะเรียกว่าอะไรก็ตาม คนๆนั้นไม่ใช่ “นักบริหาร” 23 23

24 ไม่ต้องทำอะไรด้วยตัวเอง เขาต้อง “คิด” ว่าทำอย่างไร
เมื่อ “นักบริหาร” ไม่ต้องทำอะไรด้วยตัวเอง เขาต้อง “คิด” ว่าทำอย่างไร งานจึงจะเสร็จ 24 24

25 เขาต้อง “คิด” มีใครที่สามารถช่วยจัดการให้งานที่ว่านั้นสำเร็จลงไปได้
บางครั้งอาจต้องใช้ทีมที่ประกอบด้วย คนมีฝีมือหลายคนประกอบกันเป็นทีม 25 25

26 รู้จักว่าใครมีฝีมือในเรื่องอะไรบ้าง
นักบริหารต้อง รู้จักว่าใครมีฝีมือในเรื่องอะไรบ้าง นักบริหารต้องสามารถคิดพลอตเรื่องออกมาได้ว่าหากจะจัดการงานให้เสร็จต้องมีตัวแสดงกี่ตัว ใครบ้าง และแต่ละคน มีบทบาทอะไร เมื่อไร 26 26

27 นักบริหารจะเป็นคนคิดพล็อตเรื่อง นักบริหารจะเป็นคนเขียนบทหรือ
ใช้ให้คนมาเขียนสิ่งที่มีอยู่ในใจ นักบริหารจะต้องคอยกำกับ คอยตรวจสอบ คอยให้กำลังใจ คอยกระตุ้นฯลฯ 27 27

28 การบริหารแบบนี้เรียกว่าการบริหารแบบที่ผู้บริหารเป็นผู้กำกับภาพยนตร์
เรื่องราวที่ต้องการให้เกิดขึ้น ก็เหมือนการสร้างภาพยนตร์ ทีมงานก็เหมือนบรรดานักแสดงทั้งหลาย 28 28

29 ท่านต้องสามารถมอง “ขาด” ทั้งในเรื่องของ “สิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้น”
ข้อคิดสำคัญคือ ท่านต้องสามารถมอง “ขาด” ทั้งในเรื่องของ “สิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้น” “ตัวแสดง”ต่างๆ บทบาทของแต่ละคนและการดูแลเอาใจใส่ 29 29

30 ท่านต้องเป็นทั้ง Futurist ที่มองภาพของงานที่จะเกิดขึ้นออก
ข้อคิดสำคัญคือ ท่านต้องเป็นทั้ง Futurist ที่มองภาพของงานที่จะเกิดขึ้นออก เรียกว่ามี Conceptual Thinking 30 30

31 ท่านต้องเข้าใจ “คนเก่ง” และรู้จักดึงให้เข้ามาช่วยท่านทำงาน
เรียกว่ามี Talent Thinking 31 31

32 ท่านต้องเข้าใจเรื่อง “จังหวะเวลาและบริหารจัดการเวลา”
ทั้งของท่านและของคนอื่นที่เกี่ยวข้องได้ เรียกว่ามี Time Thinking 32 32

33 ในการบริหารจัดการความคิดก็คือต้องเลือกให้ได้ว่าจะเป็น
โจทย์ข้อแรก ในการบริหารจัดการความคิดก็คือต้องเลือกให้ได้ว่าจะเป็น Boss หรือเป็น Coach 33

34 Coach Boss Boss บริหารจัดการโดยมองไปข้างบน พยายามที่จะเอาอกเอาใจเจ้านายทั้งหลายมากกว่าที่จะนึกถึงการสนับสนุน การ ชื่นชม ยกย่อง และความไว้เนื้อเชื่อใจจากคนที่ทำงานให้ Coach บริหารจัดการจากล่างขึ้นไปข้างบน จริงๆแล้ว Coach มักจะไม่นึกถึงด้วยซ้ำว่าใครเป็นเจ้านายใครเป็นลูกน้อง 34 34

35 Boss Coach Boss ห่วงกังวลกับตำแหน่งของตั่วเองก่อนอื่นใดทั้งหมด
Coach ดูแลลูกทีมก่อนสิ่งอื่นใด Coach พยายามทุกทางให้ลูกทีมได้สิ่งที่อยากได้ ต่อสู้ป้องกันไม่ให้ลูกทีมเดือดร้อน ทั้งนี้เพื่อให้ลูกทีมได้ทุ่มเทเวลาและกำลังให้กับงานอย่างเต็มที่ 35 35

36 Boss Coach Boss รับฟังเรื่องราวจากผู้ที่อยู่เหนือกว่าและเลือกที่จะถ่ายทอดให้กับบางคนในบางเรื่อง Boss มองโลกจากข้างบนลงมาข้างล่าง และเลือกที่จะบริหารจัดการตามที่เห็นเหมาะสม Coach รับฟังเรื่องราวจากลูกทีมทุกคน และแต่ละคนและเมื่อมีเรื่องราวจากเบื้องบนก็จะถ่ายทอดให้ทุกคนได้รับทราบ Coach ใช้ input ที่ได้จากลูกทีมและประยุกต์ใช้ตามความเหมาะสม 36 36

37 Boss Coach Coach ใช้การควบคุมบังคับในบางครั้งและบางเรื่อง แต่ส่วนใหญ่แล้ว Coach จะชอบให้ข่าวสารข้อมูลเปิดกว้างสำหรับการรับรู้ของทุกคน และชอบเห็นการปรึกษาหารือ ช่วยกันหาทางออกร่วมกัน Boss ชอบการควบคุม บังคับในทุกเรื่อง จดหมาย บันทึก โทรศัพท์ อีเมล รายงานการประชุมต้องผ่าน Boss ก่อนเสมอ 37 37

38 Boss Coach Boss อยากได้ลูกน้องที่เก่งน้อยกว่าตัวเอง
38 38

39 Boss Coach Boss ไม่ส่งเสริมสนับสนุนในการพัฒนาอย่างจริงจัง
Coach อยากเห็นลูกน้องที่ก้าวหน้า พัฒนาต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง และนั่นคือความสำเร็จของคนเป็น Coach 39 39

40 ผู้บริหารที่จะมีคนจดจำในทางที่ดีตลอดไปคือคนที่เป็น Coach
40

41 แผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

42 กฎหมายที่เกี่ยวข้องในการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการราชการแผ่นดิน พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 พ.ร.ฎ. ว่าด้วยการบริหารงานจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ม. 78 (2) จัดระบบการบริหารราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น ให้มีขอบเขตอำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบที่ชัดเจนเหมาะสมแก่การพัฒนาประเทศ และสนับสนุนให้จังหวัดมีแผนและงบประมาณเพื่อพัฒนาจังหวัด เพื่อประโยชน์ของประชาชนในพื้นที่ ม. 87 (1) ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายและวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น ม.52 วรรค 3 เพื่อประโยชน์ในการบริหารงานแบบบูรณาการในจังหวัดหรือกลุ่มจังหวัด ให้จังหวัดและกลุ่มจังหวัดยื่นคำขอจัดตั้งงบประมาณได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา ในกรณีนี้ให้ถือว่าจังหวัดหรือกลุ่มจังหวัดเป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ ม.52/1 วรรคท้าย เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ของจังหวัดตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นหน้าที่ของส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐที่ประจำอยู่ในเขตจังหวัดที่ต้องปฏิบัติให้สอดคล้องและเป็นไปตามแผนพัฒนาจังหวัดตามมาตรา 53/1 ม. 53/1 ให้จังหวัดจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติ และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวัด ในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดจัดให้มีการประชุมปรึกษาหารือร่วมกันระหว่างหัวหน้าส่วนราชการที่มีสถานที่ตั้งทำการอยู่ในจังหวัดไม่ว่าจะเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาคหรือราชการบริหารส่วนกลางและผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมดในจังหวัด รวมทั้งผู้แทนภาคประชาสังคม และผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน หมวด 1 การบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ หมวด 2 การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด หมวด 3 การจัดทำกลุ่มจังหวัดและการจัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด หมวด 4 งบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด หมวด 5 การกำกับและติดตาม

43 หลักการสำคัญตามกฎหมาย การมีส่วนร่วม ของทุกภาคส่วน
ระหว่างนโยบายการพัฒนาประเทศ นโยบายของ รัฐบาลกับความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น ความต้องการและศักยภาพของประชาชน ความ พร้อมของภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชน และความ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ระดับ ความสอดคล้อง และเชื่อมโยง การมีส่วนร่วม ของทุกภาคส่วน การบูรณาการ (Area-Based) ผู้ว่าราชการจังหวัดประสานและสร้าง การมีส่วนร่วม เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนได้เข้ามาร่วม ในการกำหนดยุทธศาสตร์ การจัดทำแผน พัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดเพื่อให้เกิด ความเห็นพ้องต้องกันในยุทธศาสตร์ของ จังหวัดและกลุ่มจังหวัด และร่วมรับผิดชอบ ต่อการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ บูรณาการตั้งแต่กระบวนการวางแผน กระบวนการ กำหนดยุทธศาสตร์ การบริหารตามแผนและ ยุทธศาสตร์ รวมไปถึงการบูรณาการระหว่าง แผนงานและแผนงบประมาณ การบูรณาการระหว่างภาครัฐ ภาคท้องถิ่น และ ภาครัฐกับภาคธุรกิจเอกชน 43

44 หลักการการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัด แบบบูรณาการ
หลักการการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัด แบบบูรณาการ เป็นไปตามแผนพัฒนาจังหวัดหรือแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด สร้างโอกาสและส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมระหว่างภาครัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมในจังหวัด กระจายอำนาจการตัดสินใจลงไปสู่ระดับผู้ปฏิบัติ การส่งเสริมและสนับสนุนให้ท้องถิ่นมีความพร้อม ในการรองรับการกระจายอำนาจ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 44

45 กลไกการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
คณะกรรมการนโยบาย การบริหารงานจังหวัดและ กลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ ระดับชาติ ก.น.จ. นายกรัฐมนตรี ระดับกลุ่มจังหวัด ก.บ.ก. คณะกรรมการบริหารงานกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ หัวหน้ากลุ่มจังหวัด ระดับจังหวัด ก.บ.จ. จังหวัด 2 คณะกรรมการ บริหารงานจังหวัด แบบบูรณาการ จังหวัด 4 ผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัด 1 จังหวัด 3 องค์ประกอบหลัก: 1-ภาครัฐ 2-ผู้บริหารท้องถิ่น 3-ภาคธุรกิจเอกชน 4-ภาคประชาสังคม 45

46 แนวคิด หลักการ การจัดตั้ง
การจัดตั้งกลุ่มจังหวัดและการบริหารงานกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ แนวคิด หลักการ การจัดตั้ง พ.ร.ฎ.ว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดฯ มาตรา 26 (1) ให้ ก.น.จ. พิจารณาจัดตั้งกลุ่มจังหวัดและกำหนดจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการกลุ่มจังหวัดเสนอ ครม.ให้ความเห็นชอบ (2) การจัดตั้งกลุ่มจังหวัดและกำหนดจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการกลุ่มจังหวัดให้ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา (3) ให้ ผวจ. ของจังหวัดที่เป็นที่ตั้งศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัดทำหน้าที่หัวหน้ากลุ่มจังหวัดเว้นแต่ ก.น.จ. จะกำหนดเป็นอย่างอื่น (ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 18 ก.พ. 52) : เพื่อเสริมสร้างศักยภาพในการพัฒนา/ขีดความสามารถในการแข่งขันและการแก้ไขปัญหาของจังหวัดร่วมกัน : รวมจังหวัดที่มีพื้นที่ติดต่อกันและมีความเชื่อมโยงกันทางเศรษฐกิจและภูมิสังคม : ใช้ยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัดในการดำเนินงานร่วมกัน 19 กลุ่มจังหวัดตามมติ ครม. 22 ก.ค. 46 ปรับเป็น 18 กลุ่มจังหวัดตามมติ ครม. 17 พ.ย. 46 มติ ครม. 15 ม.ค. 51 เห็นชอบการจัดตั้งกลุ่มจังหวัด 18 กลุ่มจังหวัดและกำหนดจังหวัดที่เป็นที่ตั้งศูนย์ปฏิบัติการกลุ่มจังหวัด มติ ครม. 17 ก.พ. 52 เห็นชอบการจัดตั้งกลุ่มจังหวัดฯตาม พ.ร.ฎ. บทบาท OSM องค์กรการบริหารจัดการ สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (OSM) กลุ่มจังหวัด งาน อำนวยการ งาน ยุทธศาสตร์ งาน ติดตามประเมินผล : เป็นหน่วยประสานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด จังหวัด (P1) จังหวัด (P2) จังหวัด (P3) จังหวัด (P4) ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค : ตั้งที่จังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการกลุ่มจังหวัด P1 P2 พ.ร.ฎ..ฯ มาตรา 16 “ให้หัวหน้ากลุ่มจังหวัดมีอำนาจหน้าที่ประสาน เร่งรัดและติดตามการดำเนินงานของผู้ว่าราชการจังหวัดในส่วนที่เกี่ยวข้องกับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดและแผนปฏิบัติการประจำปีของกลุ่มจังหวัด OSM P4 P3 : ทำหน้าที่ สนง. แลขานุการของ ก.บ.ก. เอกชน/ประชาสังคม ท้องถิ่น

47 กระบวนการในการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
ม.8 : กำหนดกรอบนโยบายและกระบวนการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ : กำหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการ : พิจารณากลั่นกรองให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ฯลฯ องค์กรดำเนินงาน หัวหน้ากล่มจังหวัด ก.น.จ. OSM ผวจ. ผวจ. ผวจ. ก.บ.จ. จังหวัด ก.บ.ก. กลุ่มจังหวัด มาตรา 16: ให้หัวหน้ากลุ่มจังหวัดมีอำนาจหน้าที่ประสาน เร่งรัด และติดตามการดำเนินงานของผวจ.ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด อำนาจหน้าที่ตาม ม.11 อำนาจหน้าที่ตาม ม.13 เร่งรัดติดตามประเมินผลการดำเนินงานและการบริหารงบประมาณ (ม.34) ผต.สร. ผต.มท. จังหวัดและกลุ่มจังหวัดจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปี (ม.35) มาตรา 34 เพื่อให้การบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการสัมฤทธิ์ผล ให้ผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรีและผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย มีอำนาจหน้าที่เร่งรัดติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด รวมทั้งการบริหารงบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ให้ผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรีและผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทยรายงานผลการติดตามและประเมินผลตามวรรคหนึ่งต่อ ก.น.จ. อย่างน้อยปีละสองครั้ง มาตรา 35 วรรคหนึ่ง เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติราชการตามแผนพัฒนาจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ให้จังหวัดและกลุ่มจังหวัดจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 47

48 การขับเคลื่อนการบริหารงานกลุ่มจังหวัด
สำนักบริหาร ยุทธศาสตร์ กลุ่มจังหวัด (OSM) ก.บ.ก ก.น.จ. สำนักงาน จังหวัด (สนจ.) ก.บ.จ. 18 กลุ่มจังหวัด การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน กลุ่มจังหวัด 2 กลุ่มจังหวัด 1 กลุ่มจังหวัด 1 สศช. มท. Integrated Central Committee; ICC กพร. สงป. สนง.กพร. สศช. สงป. มท.

49 จังหวัด/ กลุ่มจังหวัด สำนักงาน คณะกรรมการ เศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ
แนวทางการสร้างความร่วมมือในทีมบูรณาการกลาง - การเป็นฝ่ายเลขานุการของ ก.น.จ. - การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ - การจัดทำบันทึกความร่วมมือการดำเนินการ การจัดทำคู่มือ/แนวทางการปฏิบัติตาม พรฎ. การสร้างความเข้มแข็งให้กับจังหวัดและกลุ่มจังหวัดโดยการให้ความรู้ในด้านการบริหารจัดการ กระทรวง มหาดไทย การเป็นฝ่ายเลขานุการของ ก.น.จ. การประสานงาน สั่งการ และดำเนินงานให้เป็นไปตาม พรฏ. การสร้างความเข้มแข็งให้กับจังหวัดและกลุ่มจังหวัดโดยการให้ความรู้ในด้านการบริหารและขีดสมรรถนะบุคลากร - หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการบริหารงบประมาณจังหวัดแบบบูรณาการ - การสร้างความเข้มแข็งให้กับจังหวัดและกลุ่มจังหวัดโดยการให้ความรู้ในด้านงบประมาณ - ฝ่ายเลขานุการ อ.ก.น.จ. ด้านแผนและด้านงบประมาณ - การกำหนดกรอบยุทธศาสตร์ที่ใช้ในการจัดทำแผน - การสร้างความเข้มแข็งให้กับจังหวัดและกลุ่มจังหวัดโดยการให้ความรู้ในด้านแผน หน่วยงาน การดำเนินการ สำนักงาน ก.พ.ร. สำนักงาน ก.พ.ร. กระทรวง มหาดไทย จังหวัด/ กลุ่มจังหวัด สำนัก งบประมาณ สำนัก งบประมาณ สศช. สำนักงาน คณะกรรมการ เศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ

50 กลุ่มจังหวัดและจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการกลุ่มจังหวัด
กลุ่มจังหวัด 18 กลุ่ม ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2551 50

51 แนวทางการแบ่งบทบาทโครงการพัฒนาเชื่อมโยงประเทศ-กลุ่มจังหวัด-จังหวัด
โครงการของกระทรวง/กรม พื้นที่เป้าหมาย ของยุทธศาสตร์ เบื้องต้น ประเด็นยุทธศาสตร์ 1 : การค้าชายแดน และความสัมพันธ์ กับประเทศเพื่อนบ้าน โครงการลงทุนในอุตสาหกรรมในภาคอีสานตอนบน 11 จังหวัด โครงการเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีกับประเทสเพื่อนบ้านทั้งระดับรัฐบาล ประชาชน และสื่อมวลชน ประเทศ/ส่วนกลาง โครงการของกลุ่มจังหวัด 1. จัดทำเป็นคำของบประมาณกลุ่มจังหวัด โครงการของกลุ่มจังหวัด ที่ขอรับการสนับสนุนจากกระทรวง/กรม 1.โครงการสร้างทางรถไฟเชื่อมโยงภาคและกลุ่มจังหวัด 2.โครงการพัฒนาระบบศูนย์ตรวจปล่อยรถบรรทุกสินค้าขาออกให้เป็นที่สาธารณะ 3. โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางด้านการลงทุนคลังสินค้าทัณฑ์บนในประเทศเพื่อนบ้าน 4.โครงการจัดตั้งแหล่งทุน และการให้บริการด้านการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้านต่อผู้ประกอบการในกลุ่มจังหวัด 5.โครงการศึกษาเชิงลึกประเทศเพื่อนบ้านเพื่อเชื่อมโยงสะพานการค้าแห่งที่ 2, 3 6.โครงการความร่วมมือทางด้านการศึกษาระหว่างนักศึกษาไทย-ลาว-เวียดนาม 1.โครงการพัฒนาเขตปลอดอากร (Duty Free) ของกลุ่มจังหวัด 2.โครงการพัฒนากิจกรรมทางด้านการตลาดการค้าชายแดน 3. โครงการผู้ผลิตชุมชนกลุ่มจังหวัดพบผู้ประกอบการอินโดจีน 4. โครงการ Roadshow ของดีมีคุณค่ากลุ่มสนุก 5.โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางด้านการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้าน 6.โครงการส่งเสริมวัฒนธรรมร่วมกับเมืองเพื่อนมิตร 7.โครงการจัดตั้งหน่วยงานความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน 8.โครงการพัฒนาผู้ประกอบการท้องถิ่นทางด้านการค้าชายแดน กลุ่มจังหวัด โครงการของจังหวัดที่จัดทำเป็นคำของบประมาณของจังหวัด โครงการของกลุ่มจังหวัดทำใน พท.จว. 2. จัดทำเป็นคำของบประมาณจังหวัด โครงการของจังหวัดที่ขอรับการสนับสนุนจากกระทรวง/กรม กรณีจังหวัดมุกดาหาร 1. โครงการพัฒนาศักยภาพชุด ชรบ. หมู่บ้านตามแนวชายแดน 2. โครงการจัดตั้งและฝึกอบรมตำรวจอาสารักษาหมู่บ้านตามแนวชายแดน กรณีจังหวัดสกลนคร …… กรณีจังหวัดนครพนม กรณีจังหวัดมุกดาหาร โครงการประสานความร่วมมือด้านการเกษตรระหว่างเมืองคู่แฝด(มุกดาหาร-สะหวันเขต) ภายใต้กรอบ ACMECS …… กรณีจังหวัดสกลนคร กรณีจังหวัดนครพนม จังหวัด 1. โครงการศึกษาการพัฒนา/ปรับเปลี่ยนรูปแบบการใช้ศูนย์กระจายสินค้า (ที่จ.มุกดาหาร เพื่อการใช้งานร่วมกันของกลุ่มจังหวัด) 2. โครงการจัดตั้งศูนย์ Export Center 3. โครงการจัดตั้ง Information Center (Trade & Investment) ระดับ ยุทธศาสตร์ จังหวัด กลุ่มจังหวัด ประเทศ/ส่วนกลาง

52 ประเด็นยุทธศาสตร์ของ 18 กลุ่มจังหวัด
17. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง1 พัฒนาการเกษตร การค้า บริการและเครือข่ายคมนาคม การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ ประวิติศาสตร์และวัฒนธรรม กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน2 การค้า การลงทุน การเกษตรอุตสาหกรรม 10. กลุ่มจังหวัดภาคตอ/เหนือตอนบน1 การยกระดับการค้า การผลิตสินค้าทางการเกษตร 11. กลุ่มจังหวัดภาคตอ/เหนือตอนบน2 การค้าชายแดน การท่องเที่ยว กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน1 ส่งเสริมการท่องเที่ยวบนพื้นฐานเศรษฐกิจสร้างสรรค์ พัฒนาการค้าการลงทุนที่มุ่งเน้นสินค้า/บริการที่สร้างสรรค์สู่สากล 12. กลุ่มจังหวัดภาคตอ/เหนือตอนกลาง พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการผลิตภาคการเกษตร เสริมความพร้อมในการส่งเสริมการลงทุน 18. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง2 พัฒนาโครงสร้างและกระบวนการผลิตสินค้าเกษตร (ข้าว อ้อยและมันสำปะหลัง) การแปรรูปข้าว อ้อยและมันสำปะหลัง 13. กลุ่มจังหวัดภาคตอ/เหนือตอนล่าง1 การพัฒนาการเกษตร การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ (ไหม) 14 1. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 1 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พัฒนาคนและสังคม 13 14. กลุ่มจังหวัดภาคตอ/เหนือล่าง2 พัฒนาคุณภาพและเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร (ข้าวหอมมะลิ) พัฒนาคุณภาพการท่องเที่ยว กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2 ยกระดับกระบวนการผลิต อาหารปลอดภัย ยกระดับระบบขนส่ง 9. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก การท่องเที่ยว พัฒนาประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง เพิ่มศักยภาพการผลิตและตลาดสินค้าเกษตร การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ 4. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 ฐานการผลิตและส่งออกสินค้าเกษตร ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย การผลิต แปรรูป และการบริหารจัดการพืชเศรษฐกิจ (ยางพาราและปาล์มน้ำมัน) การท่องเที่ยว 5. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 2 สินค้าประมง เกษตรและอุตสาหกรรม ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เกษตร ประวัติศาสตร์ และวิถีชีวิตชุมชน กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน การพัฒนาสินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยว บริหารจัดการโครงสร้าง/บริการพื้นฐาน ตลอดจนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน ส่งเสริมและพัฒนาการผลิต การแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตร (ยางพารา) ส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรม

53 กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 1
ประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัดและกลุ่มจังหวัดที่ทบทวนใหม่ กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 1 การอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและการจัดการสิ่งแวดล้อม การพัฒนาคนและสังคมให้มีคุณภาพ และ ยกระดับคุณภาพชีวิต การปรับโครงสร้างการผลิตและยกระดับเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มผลิตภาพภาคอุตสาหกรรม การพัฒนาระบบการเกษตรให้มีผลผลิตที่ปลอดภัย การปรับโครงสร้างการท่องเที่ยวให้สมดุลและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน. การบริหารจัดการ การเชื่อมโยงคมนาคมและบริการระหว่างภาค (Logistics) พระนคร ศรีอยุธยา สระบุรี - เพิ่มมูลค่าด้านการท่องเที่ยว จากการอนุรักษ์มรดกโลก ทางวัฒนธรรม - พัฒนาแหล่งสินค้าเกษตรและ อาหารที่มีคุณภาพปลอดภัย และแข่งขันได้ - ส่งเสริมพัฒนาให้เป็นศูนย์กลาง การค้าการลงทุน และอุตสาหกรรม - พัฒนาให้เป็นเมืองที่ประชาชน อยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุข - พัฒนาวัฒนธรรมองค์กร การบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ - การพัฒนาอาชีพและรายได้ให้อยู่ดีมีสุข ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - การพัฒนาอุตสาหกรรมและเกษตร เพื่อการส่งออก - การพัฒนาการท่องเที่ยว - การพัฒนาคุณภาพคนและสังคม - การบริหารจัดการขนส่ง (Logistics) - การบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม - การเสริมสร้างธรรมาภิบาล และการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี นนทบุรี ปทุมธานี - พัฒนาให้เป็นเมืองที่อยู่อาศัยชั้นดีมีความปลอดภัย - พัฒนาภาคบริการของรัฐและเอกชนให้มีคุณภาพ และได้มาตรฐาน - พัฒนาภาคการผลิตให้มีคุณภาพ และได้มาตรฐาน สามารถลดมลภาวะได้อย่างต่อเนื่อง - การสร้างความเข้มแข็งให้แก่ภาคการเกษตร การผลิต การค้าและบริการ - การพัฒนาสังคมปทุมธานีให้เป็น สังคมคุณภาพ 53 53

54 กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2
ประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัดและกลุ่มจังหวัดที่ทบทวนใหม่ กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2 - การปรับโครงสร้างการผลิตและการตลาดอาหารปลอดภัย - เชื่อมโยงการกระจายสินค้าทางบกและทางน้ำ - บริหารจัดการ การท่องเที่ยวอย่างมีประสิทธิภาพ - เสริมสร้างระบบบริหารจัดการน้ำแบบบูรณาการ - การบริหารจัดการด้านทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และพลังงาน - การสร้างมูลค่าเพิ่มใน สินค้าเกษตร อุตสาหกรรม ที่ต่อเนื่องจากการเกษตร และผลิตภัณฑ์ชุมชน - การพัฒนาศักยภาพด้าน การท่องเที่ยว - การพัฒนาคุณภาพชีวิต และทุนทางสังคม ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท อ่างทอง - พัฒนาศักยภาพการผลิตเพิ่มมูลค่า ทางเศรษฐกิจจังหวัด - ปรับโครงสร้างการผลิตอาหารปลอดภัย - บริหารจัดการด้านการท่องเที่ยว - เสริมสร้างสังคมที่มีคุณภาพ - พัฒนาระบบการศึกษาและแหล่งเรียนรู้ ที่มีคุณภาพ - เสริมสร้างพัฒนาการเมืองการปกครอง และความมั่นคงของบ้านเมือง - บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน - เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการภาครัฐ และภาคเอกชนตามหลักการบริหารจัดการ บ้านเมืองที่ดี - การพัฒนาเศรษฐกิจและ การท่องเที่ยว - การพัฒนาและส่งเสริมการผลิต - การบริหารจัดการน้าแบบบูรณาการ - การส่งเสริมการดาเนินงานขนถ่ายสินค้าทางน้ำ - การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ - การบริหารจัดการทรัพยากร ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และพลังงานที่ยั่งยืน - การพัฒนาองค์กรและบุคลากร - การเสริมสร้างความมั่นคง การพัฒนาการเมือง และการมีส่วนร่วมของประชาชน - การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตด้านการเกษตร - การสร้างโอกาสและกระจายรายได้ - การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมสู่ชุมชนเข้มแข็ง - การดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 54 54

55 กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง
ประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัดและกลุ่มจังหวัดที่ทบทวนใหม่ กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง พัฒนาระบบเศรษฐกิจกลุ่มจังหวัดให้เข้มแข็งด้วยเกษตร/ชุมชน เศรษฐกิจพอเพียงและสร้างสรรค์ พัฒนาระบบเศรษฐกิจกลุ่มจังหวัดให้เข้มแข็งด้วยการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์จากชุมชน พัฒนาระบบเศรษฐกิจกลุ่มจังหวัดให้เข้มแข็งด้วยอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรต่อชุมชนและชื่อมโยงสู่สากล พัฒนาเครือข่ายและระบบบริหารจัดการให้สามารถผลักดันยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดอย่างมีผลสัมฤทธิ์ - น้อมนำแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในการพัฒนาจังหวัดและส่งเสริม การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ - ส่งเสริมให้จังหวัดเป็นแหล่งท่องเที่ยว เชิงนิเวศเชิงสุขภาพและวัฒนธรรม ของประเทศไทย - ส่งเสริมให้จังหวัดเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ การค้าและการลงทุนของภูมิภาค - บริหารทรัพยากรน้ำอย่างมีประสิทธิภาพและ ส่งเสริมการผลิตทางการเกษตรอย่างยั่งยืน - จัดทำระบบข้อมูลสารสนเทศและการบริหารงาน แบบบูรณาการอย่างมีประสิทธิภาพ นครนายก ปราจีนบุรี - ส่งเสริมพัฒนาภาคการเกษตรแบบยั่งยืน ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - ส่งเสริมอนุรักษ์และจัดการทรัพยากร ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม เพื่อรองรับการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ - บริหารจัดการให้เป็นเมืองน่าอยู่ ที่ใกล้กรุง - ส่งเสริมพัฒนาสู่การเป็นเมือง ศูนย์กลางการศึกษาและพัฒนาทักษะ ในการประกอบอาชีพ นคร นายก สมุทรปราการ สระแก้ว - เสริมสร้างอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ - พัฒนาคุณภาพชีวิตและเสริมสร้าง ให้เป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน - ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการด้าน Logistics - ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ - รักษาดุลยภาพของทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม - พัฒนาจังหวัดให้เป็นเมืองงามน่าอยู่ - พัฒนาการส่งออกสู่ประตูอินโดจีน - ส่งเสริมสินค้าเกษตรสู่อุตสาหกรรม - ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ - พัฒนาคน และสังคม ให้เป็นคนดี และมีศักยภาพ - พัฒนาระบบบริหารจัดการ ฉะเชิงเทรา - พัฒนาเศรษฐกิจให้มีความมั่นคง - พัฒนาสังคมให้มีความยั่งยืน 55 55

56 กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1
ประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัดและกลุ่มจังหวัดที่ทบทวนใหม่ กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 - มุ่งเป็นฐานการผลิตและส่งออกสินค้าเกษตร อุตสาหกรรม และเกษตร อุตสาหกรรม ที่ปลอดภัยเพื่อการบริโภคในประเทศและการส่งออก - ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ การพัฒนาคุณภาพผลผลิตทาง การเกษตร อุตสาหกรรม เกษตร อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม การแปรรูป และผลิตภัณฑ์ เพื่อการบริโภค และการส่งออก การเสริมสร้างและพัฒนาการท่องเที่ยว การอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม การยกระดับคุณภาพชีวิต และความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การขยายฐานโอกาสและคุณภาพใน การศึกษาทุกระดับให้ตรงกับ ความต้องการประชาชน การส่งเสริมให้กีฬาอยู่ในหัวใจชาว สุพรรณบุรี และมีความสามารถด้านกีฬา สู่ความเป็นเลิศในระดับชาติ การนำการเปลี่ยนแปลงด้านการบริหาร และบริการเพื่อประโยชน์ของประชาชน กาญจนบุรี สุพรรณบุรี - ส่งเสริมการเป็นศูนย์กลาง การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ - พัฒนาประสิทธิภาพระบบการผลิต สินค้าเกษตรและเกษตร อุตสาหกรรมที่ปลอดภัย - ส่งเสริมและพัฒนาการค้าผ่านแดน นครปฐม ราชบุรี - เป็นแหล่งผลิตและส่งออกสินค้า เกษตร เกษตรอุตสาหกรรม และ อุตสาหกรรมที่มีมาตรฐานสากล และปลอดภัย - ส่งเสริมการผลิตและการค้า อาหารปลอดภัย - พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ - พัฒนาคุณภาพการผลิต และเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ - สังคมคุณธรรม - เมืองน่าอยู่ - พัฒนาการบริหาร และเสริมสร้างธรรมาภิบาล 56 56

57 กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 2
ประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัดและกลุ่มจังหวัดที่ทบทวนใหม่ กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 2 พัฒนากลุ่มจังหวัดให้เป็นศูนย์กลางการผลิต และแปรรูปสินค้าประมง เกษตร และเหล็ก พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เกษตร ประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม นันทนาการ และสุขภาพ การพัฒนาสภาพแวดล้อมชายฝั่งและสิ่งแวดล้อมเมืองที่ดี - การพัฒนาและส่งเสริมให้จังหวัดเป็น เมืองอาหารทะเล และผลไม้ปลอดภัย จากสารพิษ - การพัฒนาให้จังหวัดเป็นศูนย์กลาง การพักผ่อนและการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ทาง ลำคลองระดับชาติ - การปลูกจิตสำนักให้ชาวจังหวัดสมุทรสงคราม รักถิ่นกำเนิดอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและ วัฒนธรรมดีงาม - การดำรงรักษาความเป็นเมืองที่มีระบบนิเวศน์ 3 น้ำ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม - การเป็นครัวของโลกในด้าน อาหารทะเลและการเกษตร - การเป็นแหล่งท่องเที่ยว ทางเลือกใหม่ - การพัฒนาสภาพแวดล้อม ให้เป็นเมืองน่าอยู่ - การพัฒนาระบบบริหารงาน ให้มีความเป็นเลิศ เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ - เป็นแหล่งผลิตสินค้าเกษตรอาหารปลอดภัย และอุตสาหกรรมแปรรูป - เป็นเมืองประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมที่มีชีวิต น่าเที่ยว - เป็นสังคมเข้มแข็งบนฐานความรู้คู่คุณธรรม - เป็นเมืองปราศจากมลพิษ ภัยธรรมชาติ และเป็นแหล่งอุตสาหกรรมสะอาด - เป็นเมืองน่าอยู่ ที่มีความมั่นคงปลอดภัย - เป็นจังหวัดที่มีการบริหารจัดการที่เป็นเลิศ - พัฒนาการผลิตและแปรรูปสินค้าเกษตรเพื่อการค้า - พัฒนาประจวบคีรีขันธ์ให้เป็นเมืองท่องเที่ยว สำหรับครอบครัวและสุขภาพ - พัฒนาสังคม สิ่งแวดล้อม และยกระดับคุณภาพชีวิต - สนับสนุนกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรม เหล็กที่ได้มาตรฐานสากล และมีความปลอดภัย ต่อสิ่งแวดล้อม 57 57

58 กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย
ประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัดและกลุ่มจังหวัดที่ทบทวนใหม่ กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย - การผลิตและแปรรูปสินค้ายางพารา - การผลิตและแปรรูปสินค้าปาล์มน้ำมัน - ยกระดับการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน - พัฒนาการคมนาคมขนส่ง และโลจิสติกส์ สุราษฏร์ธานี ชุมพร - พัฒนาชุมพรเป็นเมืองน่าอยู่ - ส่งเสริมตลาดการท่องเที่ยว - พัฒนาระบบการตลาด และสินค้าเกษตรที่มีคุณภาพ - ส่งเสริมวิถีพอเพียง - ศูนย์กลางการเกษตรที่มีคุณภาพครบวงจร - การเป็นผู้นำการท่องเที่ยวเชิงคุณภาพที่ยั่งยืน ในภูมิภาค - การเป็นจุดเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม บริเวณภาคใต้ตอนบน สุราษฎร์ธานีเมืองคนดี มีสังคม สิ่งแวดล้อม มั่นคง และการบริหารจัดการที่ดี - - การเป็นแหล่งการศึกษาและพัฒนาคุณธรรม นครศรี ธรรมราช พัทลุง - การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ ด้านการเกษตร อุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์ OTOP และการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และวัฒนธรรม - การพัฒนาและเพิ่มขีดความสามารถการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและพลังงาน - การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ - การขจัดปัญหาความยากจน - การพัฒนาองค์กรและการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี - การเพิ่มขีดความสามารถภาคเกษตร อุตสาหกรรมต่อเนื่องจากการเกษตร และผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่น - พัฒนาการท่องเที่ยงเชิงอนุรักษ์ - การพัฒนาคนและสังคมให้มีคุณภาพ - การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน - เสริมสร้างการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 58 58

59 ระนอง กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง
ประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัดและกลุ่มจังหวัดที่ทบทวนใหม่ กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน - การพัฒนาทรัพยากรทางการทองเที่ยว สินคาและบริการใหเชื่อมโยงและเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน ในกลุมจังหวัดภาคใตฝงอันดามันและนานาชาติอยางยั่งยืน - การพัฒนาการตลาดการทองเที่ยวเชิงบูรณาการเพื่อรักษาฐานนักทองเที่ยวเดิม และเพิ่มปริมาณนักทองเที่ยวคุณภาพบนฐานอัตลักษณและภูมิปญญา - การพัฒนากลไกการจัดการการทองเที่ยวและเศรษฐกิจของกลุมจังหวัดภาคใตฝงอันดามันแบบพหุภาคี พังงา ระนอง - เสริมสร้างความมั่นคง เข้มแข็ง ด้านเศรษฐกิจและสังคม - พัฒนาขีดความสามารถและ สร้างนวัตกรรมจากทรัพยากรชีวภาพ ที่เป็นเอกลักษณ์ของระนอง - สร้างสภาพแวดล้อมที่ดีเพื่อยกระดับ คุณภาพชีวิตและการพัฒนาที่ยั่งยืน - พัฒนาเมืองให้ได้รับการยอมรับและ ยกย่องในระดับสากล - ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ - พัฒนาเกษตรกรรมสู่ความสมดุลและยั่งยืน - การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุล - พัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมแห่งการเรียนรู้สู่ ความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน ภูเก็ต กระบี่ - ศูนย์กลางการท่องเที่ยวทางทะเลระดับโลก - คุณภาพชีวิตที่ดี มีเอกลักษณ์วัฒนธรรม - การพัฒนาที่ยั่งยืน - การพัฒนาระบบบริหารงานให้มีความเป็นเลิศ - ศูนย์กลางการท่องเที่ยวฝั่งทะเลอันดามัน เชิงอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมและสุขภาพ - แหล่งเกษตรอุตสาหกรรมที่ยั่งยืน - การพัฒนาคุณภาพชีวิต และการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ตรัง - การพัฒนาการผลิตภาคการเกษตร อุตสาหกรรมเกษตร และผลิตภัณฑ์ชุมชน - การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และวัฒนธรรมควบคู่ไปกับ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน - ส่งเสริมให้เป็นเมืองการศึกษา พัฒนาทรัพยากรมนุษย์และสังคมให้มีคุณภาพ - การเสริมสร้างความเป็นเลิศในการบริหารจัดการ 59 59

60 สตูล กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน ปัตตานี สงขลา ยะลา นราธิวาส
ประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัดและกลุ่มจังหวัดที่ทบทวนใหม่ กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน - ส่งเสริมสนับสนุนภาคการผลิตให้สามารถประกอบกิจการได้ตามปกติ - พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตและเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการและการตลาดเพื่อการส่งออก - พัฒนาเทคโนโลยีกระบวนการผลิตเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มยางพารา สตูล ปัตตานี - ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ - พัฒนาการผลิตและเพิ่มมูลค่าสินค้า เกษตรบนพื้นฐานการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน - พัฒนาทรัพยากรมนุษย์และสังคมให้มีคุณภาพ - พัฒนาระบบการขนส่งและโครงข่ายคมนาคมให้ทั่วถึง - เสริมสรางความเขมแข็งฐานเศรษฐกิจของพื้นที่ และการพัฒนาความรวมมือกับประเทศเพื่อนบาน - พัฒนาการเกษตรอย่างครบวงจร - พัฒนาผลิตภัณฑ์ฮาลาล - การเอาชนะความยากจนและพัฒนาคุณภาพชีวิต - พัฒนาคนและสังคมให้มีคุณภาพ - จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อย่างชาญฉลาดและยั่งยืน - การรักษาความมั่นคงและความสงบเรียบร้อย สงขลา นราธิวาส - พัฒนาจังหวัดสงขลาให้เป็นเมืองน่าอยู่ สิ่งแวดล้อมดี วัฒนธรรมหลากหลายเมืองน่าอยู่ สิ่งแวดล้อมดี มีวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Good Environment and Diverse Culture City for lively) - ส่งเสริมการค้า การลงทุน โดยพัฒนาให้สงขลา เป็นศูนย์กลางของอาเซียน ศูนย์กลางการค้า การลงทุน ของอาเซียน (Trade & Investment Center of ASEAN) - ส่งเสริมจังหวัดสงขลาให้เป็นการท่องเที่ยวแบบครบวงจร และเป็นประตูเชื่อมโยงสู่ภูมิภาคอื่น[ประตูการท่องเที่ยว แบบครบวงจร(Complex Tourism Gateway)] - พัฒนาให้สงขลาเป็นศูนย์กลางการศึกษานานาชาติ และเป็นแหล่งฐานความรู้ทางสังคม [ศูนย์กลางการศึกษานานาชาติและฐานความรู้ทางสังคม (Center of International Education and Social Knowledge Base)] การพัฒนาคุณภาพชีวิต ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - การพัฒนาและเสริมสร้างสันติสุขในพื้นที่ ส่งเสริมการผลิตภาคเกษตร นอกภาคเกษตร และอุตสาหกรรม ต่อเนื่องให้มีคุณภาพ แบบครบวงจร - ส่งเสริมการบริการและการค้าระหว่างประเทศ ยะลา - เสริมสร้างความยั่งยืน ทางด้านเศรษฐกิจจังหวัด - เสริมสร้างยะลาสันติสุข - พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน 60

61 จันทบุรี ชลบุรี กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก ตราด ระยอง
ประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัดและกลุ่มจังหวัดที่ทบทวนใหม่ กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก - การพัฒนาและเชื่อมโยงการท่องเที่ยวในกลุ่มจังหวัดอย่างยั่งยืน - การพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต การแปรรูปและการตลาดของผลไม้ เศรษฐกิจของกลุ่มจังหวัด - พัฒนาคนให้มีความรู้คู่คุณธรรม สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้น้อมนเศรษฐกิจ พอเพียงมาใช้ในการดำเนินชีวิต - ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ ด้านการท่องเที่ยว เกษตรกรรม พาณิชยกรรมอุตสาหกรรมอย่าง มีดุลยภาพ - ส่งเสริมระบบสวัสดิการสังคมให้ รองรับการเปลี่ยนแปลง - พัฒนาสังคมให้เกิดความสงบเรียบร้อย ปลอดภัย มั่นคงพร้อมเผชิญ การเปลี่ยนแปลง - บริหารจัดการระบบนิเวศน์ ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และผังเมืองให้ เกิดความสมดุล - พัฒนาระบบผังเมือง โครงข่ายคมนาคม ขนส่ง โครงสร้างพื้นฐานและแหล่งน้ำ เพื่อรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ และสังคมของจังหวัด - บริหารจัดการภาครัฐให้เกิดการบูรณาการ อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็วและทันสมัย ภายใต้ธรรมาภิบาล จันทบุรี - ปรับโครงสร้างการผลิตเป็น เกษตรอินทรีย์ - สร้างมูลค่าเพิ่มแก่อัญมณี - เสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขัน - พัฒนาคุณภาพชีวิตตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ชลบุรี ตราด - พัฒนาเมืองตราดให้น่าอยู่ มั่นคง เข้มแข็ง ภายใต้การมีส่วนร่วมในระบอบประชาธิปไตย และธรรมาภิบาล - ส่งเสริม พัฒนาภาคเกษตรกรรมและ ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นด้วยหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง - ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศนานาชาติ, MICE และเป็นประตูเชื่อมโยงไปภูมิภาคอื่น - พัฒนาให้ตราดเป็นศูนย์กลางการค้า การส่งออก และมิตรภาพระหว่างประเทศในแถบอินโดจีน ระยอง - พัฒนาและฟื้นฟูการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน - ส่งเสริมและพัฒนาให้เป็นแหล่งผลิตสินค้าและ ผลิตภัณฑ์เกษตรกรรม ที่ได้มาตรฐาน สามารถสร้างและขยายโอกาสทางการตลาดได้ - สร้างเสริมสังคมให้มีคุณธรรมนำความรู้ สู่การดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - ส่งเสริมและพัฒนาให้เป็นแหล่งอุตสาหกรรมของภูมิภาคที่ได้มาตรฐาน ด้านความปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม และสามารถอยู่ร่วมกับชุมชน สังคมได้อย่างยั่งยืน 61

62 กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1
ประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัดและกลุ่มจังหวัดที่ทบทวนใหม่ กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 - การเพิ่มศักยภาพการค้าชายแดน - การยกระดับการค้า การผลิตสินค้าทางการเกษตร - การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ หนองคาย เลย - การพัฒนาสังคม คุณภาพชีวิต และเศรษฐกิจพอเพียง - การพัฒนาศักยภาพทรัพยากร ทางการท่องเที่ยวให้ได้มาตรฐาน - การจัดการทรัพยากรธรรมชาต และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน - การพัฒนาคุณภาพการผลิตและการตลาดสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐาน - การเสริมสร้างการค้าชายแดน และการลงทุน - การพัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชนให้ได้มาตรฐาน - การเสริมสร้างความมั่นคง ตามแนวชายแดน - การสร้างความเข้มแข็งของประชาชน ชุมชน และสังคม - การสร้างคุณค่าและยกระดับมาตรฐาน สินค้าเกษตร - การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม - การส่งเสริมอุตสาหกรรม การค้า การลงทุนและการท่องเที่ยว - การเสริมสร้างความมั่นคงชายแดน - การพัฒนาคุณภาพระบบการให้บริการ หนองบัว ลำภู อุดรธานี - การเสริมสร้างเศรษฐกิจให้เข้มแข็ง ภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - การพัฒนาคุณภาพชีวิต และเสริมสร้างสังคมสันติสุข - การอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - การค้าการลงทุน - การเกษตร - การท่องเที่ยว - การสังคมคุณภาพชีวิต - ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - การบริหารจัดการ 62 62

63 กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2
ประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัดและกลุ่มจังหวัดที่ทบทวนใหม่ กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 การพัฒนาการค้าชายแดนและความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน การพัฒนาการท่องเที่ยว การพัฒนาการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตร การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ นครพนม สกลนคร - การพัฒนาการเกษตร และอุตสาหกรรมการเกษตร - การพัฒนาการค้าชายแดน - การพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยว - บ้านเมืองน่าอยู่ - การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ - การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ - การการท่องเที่ยว การค้าและการลงทุน - การพัฒนาที่ดิน การเกษตรและอุตสาหกรรม - การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เพื่อความอยู่ดีมีสุข - การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมที่สมดุลและยั่งยืน มุกดาหาร - การพัฒนาเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม การเกษตร - การพัฒนาด้านการท่องเที่ยว - การพัฒนาการค้าชายแดนและความสัมพันธ์ กับประเทศเพื่อนบ้าน - การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ - การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - การรักษาความมั่นคงชายแดน 63 63

64 กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง
ประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัดและกลุ่มจังหวัดที่ทบทวนใหม่ กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง - พัฒนามาตรฐานและประสิทธิภาพการผลิตด้านการเกษตร - สร้างความพร้อมในการส่งเสริมการลงทุนด้านอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตร - พัฒนาระบบบริหารจัดการการพัฒนากลุ่มจังหวัด ขอนแก่น กาฬสินธ์ - การพัฒนาเศรษฐกิจให้มีความมั่นคง และมีความสามารถทางการแข่งขัน - การพัฒนาคุณภาพคนและสังคม - การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน - การเสริมสร้างความมั่นคง และความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน - การพัฒนาการบริหารภาครัฐ - การพัฒนาการผลิตทางการเกษตร - การพัฒนาผ้าไหมแพรวา - การพัฒนาเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว - การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด - สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้และศูนย์กลางวัฒนธรรม - ส่งเสริมให้เป็นแหล่งผลิตผลการเกษตรเศรษฐกิจ - เสริมสร้างเศรษฐกิจเพื่อชุมชน - การสร้างชุมชนเข้มแข็ง - ส่งเสริมการผลิตภาคการเกษตรให้แข่งขันได้ - ส่งเสริมอุตสาหกรรมการผลิต การท่องเที่ยว และการบริการ - พัฒนาคนและสังคมให้เข้มแข็ง 64 64

65 กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1
ประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัดและกลุ่มจังหวัดที่ทบทวนใหม่ กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1 ด้านการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ ด้านการเพิ่มศักยภาพการแข่งขันด้านเศรษฐกิจ ด้านการการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ด้านการพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน ด้านความมั่นคงชายแดน ชัยภูมิ สุรินทร์ - การพัฒนาศักยภาพ และ ขีดความสามารถด้านการเกษตร - การพัฒนาอุตสาหกรรม - การพัฒนาการท่องเที่ยว - การพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต - การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน และการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี - การพัฒนาเกษตรอินทรีย์ - การเพิ่มศักยภาพการแข่งขัน ด้านเศรษฐกิจ - การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน - การพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน - ความมั่นคงชายแดน นครราชสีมา บุรีรัมย์ - การพัฒนาการเกษตร - การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยว - การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ไหม - การพัฒนาสังคมและแก้ปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน - การบริหารจัดการอย่างมีคุณภาพ และประสิทธิภาพ - สังคมเกษตรมีความมั่นคง - บ้านเมืองน่าอยู่ - การท่องเที่ยว - พัฒนาสังคมร่มเย็นและธรรมาภิบาล 65 65

66 กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2
ประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัดและกลุ่มจังหวัดที่ทบทวนใหม่ กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 - พัฒนาคุณภาพและเพิ่มมูลค่าข้าวหอมมะลิสู่ความต้องการของตลาด - พัฒนาคุณภาพการท่องเที่ยวให้ได้ระดับมาตรฐานและยั่งยืน - พัฒนาระบบสนับสนุนการบริหารจัดการธุรกิจการค้าและเพิ่มมูลค่าการค้าชายแดนครบวงจร อำนาจเจริญ ยโสธร - ส่งเสริมการเกษตรปลอดภัยและ เกษตรอินทรีย์ครงวงจร - ส่งเสริมการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุน - พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน - เสริมสร้างเศรษฐกิจฐานราก - พัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ คู่คุณธรรม และวัฒนธรรม ประเพณีที่ดีงาม - ยกระดับคุณภาพชีวิต - อนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม - เสริมสร้างความมั่นคงและความสงเรียบร้อย - บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีทุกภาคส่วน - พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน อุตสาหกรรม การท่องเที่ยวและการค้า เพื่อยกระดับรายได้ - เสริมสร้างคุณภาพชึวิต ตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง บำรุงศาสนา และ ศิลปวัฒนธรรม - อนุรักษ์ ฟื้นฟู ป้องกัน ปราบปราม และควบคุมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสมและยั่งยืน - ป้องกัน ปรามปราบยาเสพติด และสร้างระบบ การรักษาความมั่นคงชายแดน และการป้องกันบรรเทาสาธารณภัย - พัฒนาระบบสารสนเทศและ การบริหารจัดการที่ดี ศรีสะเกษ อุบลราชธานี - การพัฒนาการเกษตรและการแปรรูปสินค้าเกษตร - การส่งเสริมการค้า การลงทุนและการท่องเที่ยว - การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีและเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของชุมชน - การบริหารทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - การพัฒนาระบบบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ - การเสริมสร้างและรักษาความมั่นคง - การเสริมสร้างเศรษฐกิจฐานรากให้พึ่งตนเองและแข่งขันได้ - การเสริมสร้างสังคมที่เข้มแข็งและการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดี - การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม - การเสริมสร้างความมั่นคงและการรักษาความสงบเรียบร้อย - การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ 66 66

67 กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1
ประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัดและกลุ่มจังหวัดที่ทบทวนใหม่ กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 - ส่งเสริมการค้าการลงทุนและพัฒนาระบบโลจิสติกส์เชื่อมโยงกลุ่มประเทศ GMS และประเทศอื่น ๆ - เพิ่มศักยภาพและยกระดับมาตรฐานการท่องเที่ยวเพื่อเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยว เชิงวัฒนธรรม (ล้านนา) และธรรมชาติของภูมิภาค - ปรับโครงสร้างการผลิตสู่เกษตรปลอดภัยและส่งเสริมเกษตรมูลค่าเพิ่ม - ดำรงความเป็นฐานทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี - การพัฒนาเซรามิกและ ส่งเสริมหัตถอุตสาหกรรม เพื่อเพิ่มมูลค่าทางการค้าและ การลงทุนทั้งระบบ - การพัฒนาและยกระดับมาตรฐานระบบอุตสาหกรรม การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมสู่มาตรฐานสากล - การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรสู่เกษตรปลอดภัย - การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนและ สร้างสังคมให้มีความเข้มแข็งเป็นสังคม แห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ - การสร้างความมั่งคั่งอย่างยั่งยืน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง - การสร้างสังคมอยู่เย็นเป็นสุข ดำรงความเป็นฐานทรัพยากร ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และพลังงานสะอาด - การสร้างความมั่นคง ปลอดภัย และความสงบสุขของประชาชน - การสร้างประสิทธิภาพความโปร่งใส เป็นประชาธิปไตย และเป็นธรรม ในการให้บริการ เชียงใหม่ ลำปาง แม่ฮ่อง สอน - การบริหารจัดการและพัฒนา การเกษตรแบบบูรณาการและ มาตรฐาน คุณภาพสินค้าสอดคล้อง กับความต้องการของตลาด - การพัฒนาคุณภาพและความ เชื่อมโยงภาคอุตสาหกรรม หัตถอุตสาหกรรมและ โครงสร้างพื้นฐานรองรับเพื่อเพิ่มขีด ความสามารถทางการแข่งขัน และความเข้มแข็งทางด้านเศรษฐกิจ - การพัฒนาให้เป็นเมืองแห่ง วัฒนธรรมและแหล่งท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์ที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น ลำพูน - เศรษฐกิจเข้มแข็งและมีภูมิคุ้มกัน - สังคมคุณภาพและความผาสุก - ความมั่นคงและความสงบเรียบร้อย (ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม) - การบริหารจัดการ - การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยเสริมสร้างความเข้มแข็ง ให้ครอบครัว ชุมชน และสังคม - การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบและยั่งยืน การพัฒนาเมืองลำพูนให้มีความสงบ สะอาด สวยงาม ปลอดภัย และ มีโครงสร้างพื้นฐานที่เอื้อต่อการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม 67 67

68 กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2
ประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัดและกลุ่มจังหวัดที่ทบทวนใหม่ กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 - พัฒนาการค้า การลงทุน และโลจิสติกส์เชื่อมโยงสู่สากล - การสร้างความเข้มแข็งให้ภาคเกษตรอุตสาหกรรม เพื่อเพิ่มมูลค่า - พัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์วัฒนธรรมและสุขภาพ - ดำรงฐานทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดี เชียงราย พะเยา - การพัฒนาเศรษฐกิจ ตามศักยภาพของจังหวัด - พัฒนาศักยภาพคนและชุมชน ให้มีความเข้มแข็ง - พัฒนาสังคมให้สงบสุขและ มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน - การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม - พัฒนาองค์กรและเพิ่มประสิทธิภาพ การปฏิบัติราชการ - การพัฒนาเศรษฐกิจ - การพัฒนาสังคม - การบริหารจัดการ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - การรักษาความมั่นคง และความสงบ แพร่ น่าน - ส่งเสริมเศรษฐกิจตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน - พัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม ส่งเสริมการศึกษา และรักษาความสงบเรียบร้อยภายในจังหวัด - การป้องกันและแก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน - พัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวด้านวัฒนธรรม การท่องเที่ยวเชิงนิเวศและสุขภาพเพื่อให้เกิดรายได้ในจังหวัด - การบริหารจัดการภาครัฐและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน - การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - การพัฒนาเศรษฐกิจการค้าการลงทุน - น่านแผ่นดินล้านนา - วิถีชีวิตพอเพียงและชุมชนพึ่งตนเอง - การบริหารจัดการภาครัฐ พัฒนาประชาสังคม 68 68

69 กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1
ประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัดและกลุ่มจังหวัดที่ทบทวนใหม่ กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 - พัฒนาการค้า บริการ และเครือข่ายคมนาคม - ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม - เสริมสร้างบ้านเมืองน่าอยู่ คุณภาพชีวิตที่ดี มีรายได้และอาชีพที่เหมาะสม และชุมชนเข้มแข็ง - พัฒนาภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม การแปรรูป ให้มีคุณภาพ และปลอดภัย - พัฒนาทุนทางวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ดำรงไว้ซึ่ง ทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์ - พัฒนาแหล่งน้ำ การจัดการสิ่งแวดล้อม และพลังงานที่ดี - เพิ่มศักยภาพ การค้า การลงทุน การท่องเที่ยว และความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน - สงเสริมการทองเที่ยว - สงเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ และแกไขปญหาความยากจน - พัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สุโขทัย อุตรดิตถ์ - การพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน และแก้ไขปัญหาความยากจน - การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม - การพัฒนาผลิตภาพทางการเกษตร - การส่งเสริมการท่องเที่ยว สินค้า OTOP และการค้าชายแดน - การรักษาความมั่นคงชายแดน และความสงบเรียบร้อย - การบริหารจัดการที่ดี เพชรบูรณ์ - การพัฒนาเศรษฐกิจให้มีความมั่นคง และมีความสามารถทางการแข่งขัน - พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมความมั่นคงทางสังคม - บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อ การพัฒนาอย่างยั่งยืน - การเสริมสร้างความมั่นคงและความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สิน - พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ตาก - ส่งเสริมการเป็นศูนย์กลางการบริการด้าน การขนส่งสินค้าและผู้โดยสาร - ส่งเสริมการเป็นศูนย์กลางการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (ICT) ของภาคเหนือตอนล่าง - ส่งเสริมการบริการด้านสุขภาพให้เป็นศูนย์บริการแก่ประชาชน โดยพัฒนามาตรฐานการบริการให้เป็นสากล และให้เป็นจังหวัดที่ประชาชนมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง (Healthy Province) - ส่งเสริมให้ภาครัฐและเอกชนชนมีการปรับปรุงให้บริการ มีคุณภาพและอยู่ในระดับมาตรฐานให้ประชาชนและพนักงานมี หัวใจแห่งการบริการ(Service Mind) ในฐานะเจ้าของบ้านที่ดี พิษณุโลก - พัฒนาการบริหารจัดการการผลิตสินค้าเกษตรที่เชื่อมโยง การตลาดและการแปรรูป - ส่งเสริมให้มีการจัดกิจกรรมการประชุมภายในประเทศ และเสริมสร้างกิจกรรมการท่องเที่ยวกีฬาและวิชาการ - ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและประชาชนมีส่วนร่วม ในการพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สะอาดสวยงามเป็นเอกลักษณ์ และมีความปลอดภัย ส่งเสริมให้ชุมชนเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างยั่งยืน ด้วยการแก้ไขปัญหาความยากจนและสังคมเชิงบูรณาการ 69 69

70 กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 2
ประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัดและกลุ่มจังหวัดที่ทบทวนใหม่ กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 2 - พัฒนาโครงสร้างและกระบวนการผลิตข้าว อ้อย และมันสำปะหลัง - ส่งเสริมการแปรรูปข้าว อ้อย และมันสำปะหลังไปสู่ผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐาน - พัฒนาระบบการขนส่งและการกระจายสินค้า - ขยายช่องทางการตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ - พัฒนาและบริหารจัดการการท่องเที่ยว กำแพง เพชร - ส่งเสริมและพัฒนาการผลิต การแปรรูป และการตลาดสินค้า เกษตรปลอดภัย - ส่งเสริม พัฒนา และบริหารจัดการ การท่องเที่ยวให้มีคุณภาพสู่สากล - พัฒนาโครงสร้างและปัจจัยพื้นฐาน ที่เอื้อต่อการเกษตรและการท่องเที่ยว พิจิตร - บริหารจัดการทรัพยากรน้ำ สิ่งแวดล้อม พลังงาน และการท่องเที่ยว - เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขัน ภาคการเกษตร/นอกภาคเกษตร และสินค้าข้าว - การแก้ปัญหาและมุ่งพัฒนาสังคม ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง - พัฒนาองค์กรด้วยกระบวนการ มีส่วนร่วมตามหลักธรรมาภิบาล อุทัยธานี นครสวรรค์ - การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนตามแนวทาง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - การพัฒนาคนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีมีคุณธรรม นำความรู้และเกิดความผาสุก - การสร้างมูลค่าเพิ่มทางการเกษตร การค้า และอุตสาหกรรมการเกษตรที่สมดุล - การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม ให้มีประสิทธิภาพอย่างยั่งยืน - การเสริมสร้างธรรมาภิบาลและการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี - การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและธรรมชาติ - ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ - ส่งเสริมและพัฒนาการบริหาร จัดการทรัพยากรน้ำอย่างเป็นระบบ - พัฒนากระบวนการผลิตด้านการเกษตร ให้มีคุณภาพ และเพิ่มมูลค่า - สร้างสมดุลพื้นฐานของชีวิต 70 70

71 ประเด็นยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ด้านการเกษตร
13 14 16. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 การเกษตรอุตสาหกรรม 10. กลุ่มจังหวัดภาค ตอ/เหนือตอนบน 1 การผลิตสินค้าทางการเกษตร 12. กลุ่มจังหวัดภาค ตอ/เหนือตอนกลาง พัฒนาคุณภาพและและมาตรฐานการผลิตภาคการเกษตร 18. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 2 พัฒนาโครงสร้างและกระบวนการผลิต สินค้าเกษตร (ข้าว อ้อย มันสำปะหลัง) 14. กลุ่มจังหวัดภาค ตอ/เหนือตอนล่าง 2 พัฒนาคุณภาพและเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร (ข้าวหอมมะลิ) 4. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 ฐานการผลิตและส่งออกสินค้าเกษตร 13. กลุ่มจังหวัดภาค ตอ/เหนือตอนล่าง 1 การพัฒนาการเกษตร 2. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2 ยกระดับกระบวนการผลิตอาหารปลอดภัย 3. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง เพิ่มศักยภาพการผลิตและตลาดสินค้าเกษตร 9. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก พัฒนาประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ 5. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 2 สินค้าประมง เกษตร และอุตสาหกรรม 6. กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย การผลิต แปรรูป และการบริหารจัดการพืชเศรษฐกิจ (ยางพาราและปาล์มน้ำมัน) อันดับที่ 1 อันดับที่ 2 8. กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน ส่งเสริมและพัฒนาการผลิต การแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตร

72 ประเด็นยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ด้านการท่องเที่ยว
13 14 11. กลุ่มจังหวัดภาค ตอ/เหนือตอนล่าง 2 ท่องเที่ยว 15. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 ส่งเสริมการท่องเที่ยวบนพื้นฐาน เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ 13. กลุ่มจังหวัดภาค ตอ/เหนือตอนล่าง 2 พัฒนาคุณภาพการท่องเที่ยว 17. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม 3. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ 4. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 ท่องเที่ยว 9. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก การท่องเที่ยว 5. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 2 ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เกษตร ประวัติศาสตร์ และวิถีชุมชน 7. กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน การพัฒนาสินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยว อันดับที่ 1 อันดับที่ 2 6. กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย การท่องเที่ยว

73 ประเด็นยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ด้านอุตสาหกรรม
13 14 12. กลุ่มจังหวัดภาค ตอ/เหนือตอนกลาง ส่งเสริมความพร้อมในการส่งเสริมการลงทุน 18. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 2 การแปรรูป ข้าว อ้อย และมันสำปะหลัง 14. กลุ่มจังหวัดภาค ตอ/เหนือตอนล่าง 2 การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อันดับที่ 1 อันดับที่ 2 8. กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน ส่งเสริมและการพัฒนาอุตสาหกรรม

74 ประเด็นยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ด้านการค้า/โลจิสติกส์
13 14 16. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 การเกษตรอุตสาหกรรม 15. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 พัฒนาการค้าการลงทุนที่มุ่งเน้น สินค้า/บริการที่สร้างสรรค์สู่สากล 10. กลุ่มจังหวัดภาค ตอ/เหนือตอนบน 1 การผลิตสินค้าทางการเกษตร 17. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 พัฒนาบริการและเครือข่ายคมนาคม 11. กลุ่มจังหวัดภาค ตอ/เหนือตอนบน 2 การค้าชายแดน 2. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2 ยกระดับระบบขนส่ง อันดับที่ 1 อันดับที่ 2

75 ประเด็นยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด
ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม/ด้านสังคมและพัฒนาคน 13 14 1. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 1 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 1. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 1 พัฒนาคนและสังคม อันดับที่ 1 อันดับที่ 2

76 แผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
แนวทางการจัดทำ แผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

77 ความหมาย ระยะเวลาของ แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
เป็นรายการเกี่ยวกับโครงการและแผนงานต่างๆ ของจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์และทิศทางการพัฒนาของจังหวัด/กลุ่มจังหวัดในอนาคต โดยต้องคำนึงถึง - ความต้องการและศักยภาพของประชาชน - ความพร้อมของภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชน - ยุทธศาสตร์ระดับชาติ เงื่อนไข 1. ต้องสำรวจความต้องการและศักภาพของประชาชน 2. ต้องรับฟังความคิดเห็น โดยประชุมปรึกษาหารือ ร่วมกันกับตัวแทนทุกภาคส่วนให้เกิดความเห็น พ้องต้องกัน ระยะเวลาของ แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด มีระยะเวลาสี่ปี 77

78 ขอบเขตของแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด
เน้นการพัฒนาจังหวัดแบบองค์รวม ครอบคลุมทุกมิติ เศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากร ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และความมั่นคง เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในจังหวัด แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด - เน้นการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของกลุ่มจังหวัด - นำไปสู่การกระตุ้นให้เกิดการลงทุนของภาคเอกชนและสร้างรายได้ให้กลุ่มจังหวัด องค์ประกอบ แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด - วิสัยทัศน์ - ประเด็นยุทธศาสตร์ - เป้าประสงค์ - ตัวชี้วัด - ค่าเป้าหมาย และ - กลยุทธ์ 78

79 เป็นแผนที่แปลงแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดไปสู่การปฏิบัติ
ความหมาย แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด เป็นแผนที่แปลงแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดไปสู่การปฏิบัติ ระบุถึงโครงการต่างๆ ที่จำเป็นต้องดำเนินการในจังหวัดในแต่ละปีงบประมาณเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และทิศทางการพัฒนาของจังหวัด ไม่ว่าโครงการนั้นดำเนินการโดยจังหวัด/กลุ่มจังหวัด กระทรวง ทบวง กรม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ หรือเอกชน องค์ประกอบ - รายละเอียดของโครงการ - เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของงาน - หน่วยงานผู้รับผิดชอบ และ - งบประมาณที่จะต้องใช้ดำเนินการ โดยต้องมีการระบุให้ชัดเจนว่าโครงการหรืองานใดที่จังหวัดประสงค์ จะขอตั้งงบประมาณจากสำนักงบประมาณโดยตรง 79 79

80 แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด
ความเชื่อมโยง ระหว่างแผนพัฒนาจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด และคำของบประมาณจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด รายการแผนงาน/ โครงการตามแผนพัฒนาจังหวัดที่ดำเนินการ โดยจังหวัด กระทรวง กรม องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น หรือ หน่วยงานอื่นใดของรัฐ หรือเอกชน รายการแผนงานโครงการตามแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดที่ดำเนินการ โดยจังหวัด คำของบประมาณจังหวัด 1.งบดำเนินงาน (ตัวอย่างเช่น ค่าบริหารการจัดทำแผน ค่าจัดประชุมปรึกษาหารือฯ งบพัฒนาบุคลากร งบศึกษาวิจัยงบติดตามประเมินผล ฯลฯ) 2.โครงการตามแผนพัฒนาจังหวัดที่ดำเนินการโดยจังหวัด 3.โครงการตามแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด กรณีที่เป็นโครงการที่มีพื้นที่ดำเนินการในจังหวัดชัดเจน ให้ตั้งงบประมาณในจังหวัดนั้น 80 80

81 แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด คำของบประมาณกลุ่มจังหวัด
ความเชื่อมโยง ระหว่างแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของ กลุ่มจังหวัด และคำของบประมาณกลุ่มจังหวัด แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด รายการแผนงาน/ โครงการตามแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดที่ดำเนินการโดยกลุ่มจังหวัด (ระบุจังหวัดที่รับผิดชอบ) กระทรวง กรม องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ หรือเอกชน คำของบประมาณกลุ่มจังหวัด งบดำเนินงาน (ตัวอย่างเช่น ค่าบริหารการจัดทำแผน ค่าจัดประชุมปรึกษาหารือฯ งบพัฒนาบุคลากร งบศึกษาวิจัยงบติดตามประเมินผล ฯลฯ) โครงการกลุ่มจังหวัด กรณีที่มีพื้นที่ปฏิบัติการคาบเกี่ยวอยู่ในหลายจังหวัดภายในกลุ่มจังหวัด ซึ่งไม่สามารถดำเนินการได้โดยจังหวัดเดียว ให้ตั้งคำขอที่จังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด 81 81

82 กระบวนการ/สายการส่งต่อเรื่องแผน
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. ๒๕๕๑ ครม. แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด (มาตรา ๑๙) ให้ความเห็นชอบ แผนปฏิบัติการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด (มาตรา ๒๕) กนจ. จัดสรรงบประมาณ (มาตรา ๒๘) กำหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการ (มาตรา ๑๗) สงป. แผนพัฒนาจังหวัด /กลุ่มจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปี ของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด โครงการพัฒนาจังหวัด (งบจังหวัด) - โครงการของส่วนราชการ - โครงการของ อปท. - โครงการความร่วมมือเอกชน โครงการพัฒนากลุ่มจังหวัด (งบกลุ่มจังหวัด) กบจ. กบก. (ร่าง) แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด อ.ก.อ. อนุกรรมการ จัดทำแผนพัฒนา จังหวัด/ กลุ่มจังหวัด ปรับปรุง แผนให้มีความ สมบูรณ์ ประกาศ ก.น.จ. สำรวจปัญหาและความต้องการของประชาชน (มาตรา ๑๘) ประชุมปรึกษาหารือเพื่อรับฟังความคิดเห็น (มาตรา ๑๙) มาตราที่เกี่ยวข้อง ตาม พรฎ.ฯ มาตรา ๑๗ – ๒๕ การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด มาตรา ๒๖ – ๒๗ การจัดกลุ่มจังหวัดและการจัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด มาตรา ๒๘ – ๓๓ งบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ประกาศคณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ เรื่องวิธีการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวัด (อำนาจตามมาตรา ๑๘ วรรคสี่) ลงวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๒) 82

83 อนุ กนจ.ด้านแผนและงบประมาณ
โครงสร้างระบบการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ การวางแผน การอนุมัติ การตรวจสอบ กนจ. ครม.  พรฎ.ว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดฯ - ก.บ.จ./ ก.บ.ก. - ผู้ตรวจ นร./ มท. เร่งรัด ติดตาม ประเมินผล และ รายงานต่อ ก.น.จ. อย่างน้อย ปีละ 2 ครั้ง กำหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดทำแผน กนจ. ก.บ.จ. (สำนักงานจังหวัด) ระเบียบ นร. ว่าด้วยการกำกับฯ - กกภ. - รนม. กำกับติดตามการปฏิบัติ ราชการของผู้ว่าราชการจังหวัด/ เจ้าหน้าที่ระดับสูงในจังหวัด - ผู้ตรวจ นร. รายงานต่อ รนม. - รองนายกฯ มีอำนาจอนุมัติงบ กลาง กรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น ให้แก่หน่วยงานของรัฐไม่เกินคน ละ 100 ล้านบาทต่อปี ก.บ.ก. (สำนักบริหาร ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด) อนุ กนจ.ด้านแผนและงบประมาณ (5 คณะ) จัดทำแผนพัฒนาจังหวัด และแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ซึ่งถือเป็นคำของบประมาณ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี - คณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด(ก.ธ.จ.) 83 83

84 โครงสร้างการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ
กลุ่มจังหวัด ที่ปรึกษา องค์กรที่ปรึกษา ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้นำศาสนา ศาล ทหาร ผู้ทรงคุณวุฒิ กรอ. จว. กอ.รมน.จว. คณะกรรมการบริหารราชการจังหวัดแบบบูรณาการ กลุ่มภารกิจ ด้านเศรษฐกิจ กลุ่มภารกิจ ด้านสังคม กลุ่มภารกิจ ด้านความมั่นคง กลุ่มภารกิจ ด้านการบริหารจัดการ นายอำเภอ คณะกรรมการบริหารราชการอำเภอแบบบูรณาการ กลุ่มภารกิจ ด้านเศรษฐกิจ กลุ่มภารกิจ ด้านสังคม กลุ่มภารกิจ ด้านความมั่นคง กลุ่มภารกิจ ด้านการบริหารจัดการ ชุดปฏิบัติการประจำตำบล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คณะกรรมการหมู่บ้าน/ชุมชน ผู้ปกครองท้องที่

85 แนวทางการบูรณาการและการเชื่อมโยงแผนในระดับพื้นที่
แผนพัฒนา (อบจ.) นโยบาย/ทิศทางการพัฒนา ระดับชาติ/แผนพัฒนาภาค กลไกระดับชาติ (ก.น.จ.) อ.ก.น.จ./ ก.น.จ. ค.ร.ม. บูรณาการโครงการ อปท. ในระดับจังหวัด 5 4 แผนพัฒนา จังหวัด/กลุ่มจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปี ของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ทบทวนกรอบ ยุทธศาสตร์การพัฒนา กลุ่มจังหวัด/จังหวัด 1 กลไก ระดับ กลุ่มจังหวัด/ จังหวัด (ก.บ.ก/ก.บ.จ) จัดประชุมหารือ (ม.19) คกก.ประสานแผน อปท. ระดับจังหวัด บูรณาการโครงการ อปท. ในระดับอำเภอ กลไก ระดับ อำเภอ (ก.บ.อ./ อ.ก.อ.) ทบทวนกรอบ ยุทธศาสตร์ พัฒนาอำเภอ 3 แผนพัฒนาอำเภอ คกก.ประสานแผน อปท. ระดับอำเภอ ศูนย์ประสานงานชุมชนระดับตำบล (ศอชต) กลไกระดับชุมชน ทบทวนแผนชุมชน 2 กม. แผนพัฒนา หมู่บ้าน /ชุมชน แผนพัฒนา (เทศบาล/อบต.) กระบวนการชุมชน โครงการที่ อปท. ให้การสนับสนุน

86 การขับเคลื่อนการพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
การขับเคลื่อนและกระบวนการสร้างความร่วมมือ การกำหนด Positioning 1 2 การขับเคลื่อนการพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด 3 การกระบวนการสร้างความร่วมมือ 4 ข้อคิดเห็นต่อการวางแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

87 การกำหนด Positioning ของแผนพัฒนาจังหวัด
W O T T O Ls VISION MISSION OBJECTIVE Strategic Issues Positioning Strategic Issue Strategic Issue Strategic Issue 1 2 3 เศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคง การบริหารจัดการ

88 กระบวนการสร้างความร่วมมือ การทำงานของส่วนราชการในจังหวัด
ทิศทางการ พัฒนาและนโยบาย ส่วนกลาง แผนงาน/โครงการ การมีส่วนร่วม ในแผนพัฒนา จังหวัด งบ Function ผู้แทน ส่วนราชการ งบจังหวัด สภาพปัญหา ในพื้นที่ Matching/ Collaboration Plan งบ อปท.

89 ข้อคิดเห็นต่อการวางแผน

90 การวิเคราะห์ศักยภาพและปัญหาเชิงยุทธศาสตร์ (Swot Analysis)
ปัจจัย/สภาพแวดล้อมภายใน S-Strength (จุดแข็ง) W-Weakness (จุดอ่อน) ปัจจัย/สภาพแวดล้อมภายนอก O-Opportunity (โอกาส) T-Threat (ภัยคุกคาม) ปัจจัยด้านบวก ปัจจัยด้านลบ

91 เครื่องมือในการวิเคราะห์ตำแหน่งของธุรกิจและ การสร้างขีดความสามารถทางการแข่งขัน
Five Forces Model; Michael E. Porter BCG Model- Growth Share Matrix อำนาจต่อรองของผู้ส่งมอบ Star ?? High ภัยคุกคามจากผู้เข้าใหม่ ระดับการแข่งขันในอุตสาหกรรมเดียวกัน ภัยคุกคามจากสินค้าทดแทน อัตราการเติบโตของตลาด Cow Dog อำนาจต่อ รองของลูกค้า Low หลักการ Five Forces Analysis จัดเป็นโครงสร้างหลัก ที่ใช้วิเคราะห์อุตสาหกรรมและการพัฒนาด้านกลยุทธ์ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เกิดความสามารถในการแข่งขัน ในตลาด โดยการวิเคราะห์จากปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อ พฤติกรรมองค์กร การให้บริการลูกค้า การสร้างผลกำไร ของบริษัท และความสามารถในการแข่งขันในตลาดโดยตรง High Low ส่วนแบ่งการตลาดเชิงเปรียบเทียบ 91

92

93 ตัวอย่างแผนที่ยุทธศาสตร์ความมั่นคงชายแดน
ประสิทธิผล คุณภาพ ประสิทธิภาพ สมรรถนะ พื้นที่ชายแดนมีความมั่นคง การพัฒนาบริเวณพื้นที่ชายแดน การจัดระเบียบ พื้นที่ชายแดน ชุมชนมี ความพร้อม ความร่วมมือชายแดนกับประเทศเพื่อนบ้าน หมู่บ้านป้องกันชายแดน กลไกการบริหารจัดการ แผนพัฒนาพื้นที่ชายแดน ระบบการป้องกัน ระบบ การข่าว การพัฒนาหมู่บ้าน และชุมชน การสร้างจิตสำนึก การจัด ระบบข้อมูล 93

94 หลักเกณฑ์และแนวทางในการจัดทำ
แผนพัฒนาและแผนปฏิบัติราชการ ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

95 หลักเกณฑ์และแนวทางในการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
มติ ก.น.จ. เมื่อวันที่ 30 ส.ค. 53 หลักเกณฑ์และแนวทางในการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555  หลักการ  ขอบเขตของแผนพัฒนาจังหวัดและ แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด 1. กรอบหลักในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัด นโยบายของรัฐบาล แผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค ยุทธศาสตร์รายสาขา ผลการศึกษาของส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาจังหวัด มุ่งการพัฒนาจังหวัดแบบองค์รวมที่ครอบคลุมทุกมิติ ในด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากร ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและความมั่นคง เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างโอกาสและอาชีพซึ่งตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในจังหวัด 2. มุ่งเน้นการทำงานแบบเครือข่ายร่วมกัน ทุกภาคส่วนโดยคำนึงถึงความพร้อมของ ทุกภาคส่วน แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด มุ่งเน้นการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคม เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของกลุ่มจังหวัด และนำไปสู่การกระตุ้นให้เกิดการลงทุนของภาคเอกชนและสร้างรายได้ให้กลุ่มจังหวัด 3. รับฟังความคิดเห็นของประชาชนในท้องถิ่น ในจังหวัด 4. ให้ความสำคัญกับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด มากขึ้น

96 1 2 3 4 แนวทางการจัดทำคำของบประมาณของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
มติ ก.น.จ. เมื่อวันที่ 30 ส.ค. 53 หลักเกณฑ์และแนวทางในการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ (ต่อ) แนวทางการจัดทำคำของบประมาณของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด 1 2 3 ความจำเป็น ของโครงการ ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของโครงการ 4 ความคุ้มค่า เป็นโครงการที่ต้อง สอดคล้องและ เชื่อมโยงกับประเด็น ยุทธศาสตร์ของจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด ช่วยพัฒนาหรือ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้น หรือหากไม่ดำเนินการ จะเกิดความเสียหาย เพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขัน และ สร้างรายได้ให้ จังหวัด/กลุ่มจังหวัด ด้านเทคนิค (วิธีการหรือรูปแบบดำเนินการ) ด้านกายภาพ (ความพร้อมของพื้นที่ บุคลากร การบริหารจัดการ) ด้านงบประมาณ (วงเงิน กับประโยชน์ที่ได้ ด้านระยะเวลา (เสร็จภายในปีงบประมาณ ,มีการวิเคราะห์ผลกระทบทางลบ) ผลลัพธ์หรือ ประโยชน์ของ โครงการที่ คาดว่าจะ ได้รับ

97       หลักเกณฑ์และแนวทางในการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
มติ ก.น.จ. เมื่อวันที่ 30 ส.ค. 53 หลักเกณฑ์และแนวทางในการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ (ต่อ) ลักษณะโครงการที่จะจัดทำเป็นคำของบประมาณจังหวัด โครงการที่จะจัดทำเป็นคำของบประมาณของจังหวัด ต้องเป็นโครงการที่สอดคล้องและเชื่อมโยงกับประเด็นยุทธศาสตร์ของจังหวัด และนำไปสู่การแก้ปัญหาของจังหวัด และตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในพื้นที่ เช่น การดำเนินเศรษฐกิจชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อาทิ โครงการที่สนับสนุนและส่งเสริมการเพิ่มศักยภาพในการประกอบอาชีพ การเพิ่มรายได้และสร้างโอกาสในการพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชน การพัฒนาสินค้า OTOP การพัฒนาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ การฟื้นฟูและพัฒนาการท่องเที่ยวของจังหวัด การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน การยกระดับคุณภาพชีวิต ให้คำนึงถึงมิติความมั่นคงให้มากยิ่งขึ้น 97

98      หลักเกณฑ์และแนวทางในการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
มติ ก.น.จ. เมื่อวันที่ 30 ส.ค. 53 หลักเกณฑ์และแนวทางในการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ (ต่อ) ลักษณะโครงการที่จะจัดทำเป็นคำของบประมาณกลุ่มจังหวัด โครงการที่จะจัดทำเป็นคำของบประมาณของกลุ่มจังหวัด ต้องเป็นโครงการ ที่สอดคล้องและเชื่อมโยงกับประเด็นยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด และเป็นโครงการ ที่แสดงถึงการบูรณาการและได้รับประโยชน์ร่วมกันของกลุ่มจังหวัด เช่น การพัฒนาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ (Creative Economy) อาทิ การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสร้างมูลค่าเพิ่ม รวมถึงการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของสินค้า OTOP การพัฒนาคุณภาพและสร้างมูลค่าเพิ่มของสินค้าเกษตร การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในพื้นที่เฉพาะ/พื้นที่พิเศษ อาทิ กลุ่มการค้าชายแดน กลุ่มธุรกิจและสินค้าฮาลาล การพัฒนาการท่องเที่ยวที่ยั่งยืนเพื่อเพิ่มการจ้างงานและกระจายรายได้สู่ชุมชน การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

99 มติ ก.น.จ. เมื่อวันที่ 30 ส.ค. 53 หลักเกณฑ์และแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ (ต่อ) ลักษณะโครงการที่ไม่ควรเสนอขอเป็นคำของบประมาณจังหวัด/กลุ่มจังหวัด พื้นที่ดำเนินการอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ หรือที่สาธารณะ เว้นแต่ได้รับอนุญาตหรือเห็นชอบจากหน่วยงานที่รับผิดชอบ ไม่ควรก่อสร้างถนนที่เป็นการก่อสร้างเส้นทางใหม่ เว้นแต่เป็นการสร้างทางที่ทำให้ประเด็นยุทธศาสตร์ของจังหวัด/กลุ่มจังหวัดบรรลุผลได้อย่างแท้จริง เป็นการขุดลอกคูคลอง เป็นการจัดซื้อครุภัณฑ์เพื่อแจกจ่ายแก่ประชาชนโดยตรง ยกเว้นในกรณีของครุภัณฑ์ที่จัดซื้อนั้นเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมภายใต้โครงการที่สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด มีวัตถุประสงค์หลักเกี่ยวกับศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน (เว้นแต่ฝึกอบรมด้านอาชีพ และวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาที่สำคัญของพื้นที่ หรือการทำแผนแม่บทซึ่งมีความสัมพันธ์กับการพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ซึ่งต้องใช้องค์ความรู้จากสถาบันการศึกษา) เป็นโครงการในลักษณะของกิจกรรมย่อย (ควรมีการบูรณาการภารกิจหรือกิจกรรมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าด้วยกันเป็นโครงการ เพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาเชิงบูรณาการอย่างมี ประสิทธิผล) เป็นโครงการบริการสาธารณะ หรือบริการประชาชนซึ่งเป็นภารกิจประจำของหน่วยงานราชการ ต่างๆ หรือ อปท. อยู่แล้ว เว้นแต่เป็นโครงการที่จะทำให้ประเด็นยุทธศาสตร์บรรลุผลอย่างแท้จริง

100 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 (ต่อ)
มติ ก.น.จ. เมื่อวันที่ 30 ส.ค. 53 หลักเกณฑ์และแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด /กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ (ต่อ) แนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีฯ ขั้นตอนที่ 1 ทบทวนสถานการณ์แผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ก.บ.จ. และ ก.บ.ก. ทบทวนและประเมินสถานการณ์ + ข้อเสนอของ อ.ก.น.จ. ด้านแผนและ ด้านงบประมาณฯ มาประกอบการพิจารณา ซึ่งผลการพิจารณาอาจเป็นไปได้ 2 กรณี 1.1 กรณียืนยันแผนพัฒนาฯ เดิม ให้มีมติยืนยันแผนฯ และดำเนินการในขั้นตอนที่ 2 ต่อไป 1.2 กรณีที่จำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงแผนพัฒนาในสาระสำคัญ จังหวัดและกลุ่มจังหวัดจะต้องดำเนินการตาม มาตรา 20 ของ พ.ร.ฎ. ว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 14 ก.ย ต.ค. 53 ขั้นตอนที่ 2 ก.บ.ก. และ ก.บ.จ. จัดทำโครงร่างของแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2555 2.1 ก.บ.ก. และ ก.บ.จ. จัดทำโครงร่างของแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ ให้ครอบคลุมทั้งส่วนที่จะใช้ งบประมาณจังหวัดและที่จะขอรับการสนับสนุนจากกระทรวง ทบวง กรม 2.2 ก.บ.ก. และ ก.บ.จ. นำโครงร่างของแผนฯ ไปรับฟังความเห็น ให้จังหวัดจัดประชุมระดับจังหวัดโดยเชิญผู้แทน จากภาคส่วนต่าง ๆ (ประกอบด้วยภาคประชาสังคม ภาคเอกชน และท้องถิ่น) มาร่วมประชุมเพื่อรับฟังข้อคิดเห็น จังหวัด/กลุ่มจังหวัด นำเสนอร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัดเสนอ อ.ก.น.จ. ด้านแผนและด้านงบประมาณ คณะที่ 1 – 5 ขั้นตอนที่ 3 3 - 4 พ.ย. 53 4 พ.ย. – 14 ธ.ค. 53 ก.บ.ก. และ ก.บ.จ. จัดทำรายละเอียดแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2555 ตามข้อสังเกตของ อ.ก.น.จ. ด้านแผนและด้านงบประมาณ คณะที่ 1 – 5 ขั้นตอนที่ 4 ก.น.จ. โดย อ.ก.น.จ. ด้านแผนและด้านงบประมาณ คณะที่ 1 – 5 พิจารณา กลั่นกรองแผนปฏิบัติราชการประจำปีฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ โดยให้ จังหวัด/กลุ่มจังหวัดเข้าร่วมชี้แจง ขั้นตอนที่ 5 16 ธ.ค. 53 – 14 ม.ค. 54

101 ขั้นตอนการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555
1.1 กรณียืนยันแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด 5 พ.ย. – 14 ธ.ค. 53 16 ธ.ค. 53- 14 ม.ค. 54 ก.ย. – ต.ค. 53 3-4 พ.ย. 53 2.1 ก.บ.จ./ก.บ.ก.จัดทำโครงร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด พ.ศ. 2555 (Project Brief)  ก.บ.จ./ก.บ.ก. ทบทวนและประเมินสถานการณ์สภาพแวดล้อม ภายนอก เพื่อยืนยันแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด  ผู้ว่าฯ/ หน.กลุ่ม เสนอ อ.ก.น.จ. ฯ  อ.ก.น.จ. ด้านแผนฯ คณะที่ 1-5 พิจารณา กลั่นกรอง  ก.บ.จ./ก.บ.ก จัดทำรายละเอียด แผนฯ ตามข้อ สังเกต อ.ก.น.จ.ฯ ก.น.จ. พิจารณา กลั่นกรอง ครม. พิจารณา เห็นชอบ รับฟังข้อคิดเห็น 2.2 ที่ประชุมในระดับจังหวัด ของสภาองค์กรชุมชนตำบล 2.2 กรอ.จังหวัด/ กลุ่มจังหวัด 1.2 กรณีเปลี่ยนแปลงแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ดำเนินการตามมาตรา 20  ก.บ.จ./ก.บ.ก. ทบทวนและประเมินสถานการณ์สภาพแวดล้อม ภายนอก เพื่อยืนยันแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด สำรวจความ คิดเห็นของ ประชาชน ในท้องถิ่น ในจังหวัด อ.ก.น.จ. ด้านแผนฯ คณะที่ 1-5 พิจารณา กลั่นกรอง จัดทำร่าง แผนพัฒนา จังหวัด/ กลุ่มจังหวัด ที่ประชุม ปรึกษหารือ ตาม ม. 19 ก.น.จ. พิจารณา กลั่นกรอง ครม. พิจารณา เห็นชอบ 2.1 ก.บ.จ./ก.บ.ก จัดทำโครงร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด พ.ศ. 2555 (Project Brief)  อ.ก.น.จ. ด้านแผนฯ คณะที่ 1-5 พิจารณา กลั่นกรอง  ผู้ว่าฯ/ หน.กลุ่ม เสนอ อ.ก.น.จ. ฯ  ก.บ.จ./ก.บ.ก จัดทำราย ละเอียดแผนฯ ตามข้อ สังเกต ก.น.จ. พิจารณา กลั่นกรอง ครม. พิจารณา เห็นชอบ รับฟังข้อคิดเห็น 2.2 ที่ประชุมในระดับจังหวัด ของสภาองค์กรชุมชนตำบล 2.2 กรอ.จังหวัด/ กลุ่มจังหวัด

102 ประเด็นปัญหา การบูรณาการแผนและงบประมาณของส่วนราชการ /จังหวัด กลุ่มจังหวัด และท้องถิ่น กระทรวง กรม กับ จังหวัด/ กลุ่มจังหวัด 1. งบประมาณกระทรวง ทบวง กรมยังไม่สนับสนุนแผนงานโครงการตามแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด 2. ยังขาดการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนฯ ระหว่างภาคส่วนต่างๆ จังหวัด/ กลุ่มจังหวัด กับ ท้องถิ่น ยังไม่มีการบูรณาการโครงการภายใต้แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ระหว่างจังหวัดกับท้องถิ่น

103 จากการดำเนินงานที่ผ่านมาพบว่ามีประเด็นปัญหาที่พบ 4 ด้าน ได้แก่การซ้ำซ้อนของงาน (Redundancy) การเชื่อมโยงความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน (Collaboration) การขาดทิศทางการพัฒนาเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Direction) และความต่อเนื่องในการพัฒนา (Continuity) ประเด็นปัญหา แนวทางการดำเนินการ 1 การซ้ำซ้อนของงาน (Redundancy) กำหนดบทบาทหน้าที่ที่ชัดเจน เพิ่มประสิทธิภาพการจัดสรรทรัพยากร การเชื่อมโยงความร่วมมือ ระหว่างหน่วยงาน (Collaboration) 2 บูรณาการการทำงานของ - ส่วนกลาง/ส่วนภูมิภาค - รัฐ/เอกชน/ภาคประชาชน - ระหว่างกระทรวง - จังหวัด และกลุ่มจังหวัด การขาดทิศทางการพัฒนาเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Direction) 3 กำหนดนโยบายการพัฒนาที่ชัดเจน เช่น แบ่งกลุ่มประเภทเมืองเพื่อการพัฒนา และการบริหารจัดการเชิงระบบ (City Typology) ตามประเด็นยุทธศาสตร์ เป็นต้น 4 ความต่อเนื่องการพัฒนา (Continuity) สร้างความต่อเนื่องในการพัฒนา โดยเน้นประเด็นโครงสร้างพื้นฐาน 103 การเสริมสร้างขีดสมรรถนะบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัด

104 บทวิเคราะห์ การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดส่วนใหญ่ยังขาดความครอบคลุมต่อการพัฒนาและการแก้ไขปัญหาในจังหวัด ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน โครงการที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัดยังมีความซ้ำซ้อนกับภารกิจของส่วนราชการ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบกับการจัดทำโครงการยังขาดการบูรณาการและความเชื่อมโยง โดยเฉพาะโครงการพัฒนาของกลุ่มจังหวัด

105 บทวิเคราะห์ 3. ระยะเวลาของแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด (แผน 4 ปี) กับแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (แผน 3 ปี) มีระยะเวลาของแผนไม่สอดคล้องกัน เป็นอุปสรรคต่อการบูรณาการแผนดังกล่าว 4. มาตรา 19 ของ พ.ร.ฎ. ว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ กำหนดให้มีการปรึกษาหารือและรับฟังความคิดเห็นต่อแผนพัฒนาจังหวัด ในทางปฏิบัติมีข้อจำกัดค่อนข้างมาก 5. เจ้าหน้าที่บุคลากรผู้ปฏิบัติงานในการจัดทำแผนมีจำนวนน้อย

106 ข้อเสนอ การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด ภายใต้วิสัยทัศน์และประเด็นยุทธศาสตร์ที่กำหนด ควรมีความครอบคลุมในทุกมิติของปัญหาแลความต้องการในการพัฒนา แต่ยังคงมุ่งเน้นและให้น้ำหนักสำคัญ “ตำแหน่งการพัฒนา” (Positioning) ที่กำหนด ควรมีการจัดตั้งคณะทำงานประสานแผนพัฒนาในส่วนกลางเพื่อบูรณาการนโยบายและแผนงานและการทำงานของกระทรวง ควรให้จังหวัดและกลุ่มจังหวัดมีระยะเวลาเพียงพอในการจัดทำแผนและงบประมาณ

107 ข้อเสนอ 4. ในการปรึกษาหารือและรับฟังความคิดเห็นต่อแผนพัฒนาจังหวัด จังหวัดควรจัดส่งเอกสารสรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาจังหวัดและประเด็นของแผนงาน โครงการที่จะดำเนินการ แจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องได้ทราบล่วงหน้า 5. หน่วยงานกลางทั้งกระทรวงมหาดไทย สำนักงาน ก.พ.ร. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสำนักงบประมาณ ตลอดจนจังหวัดและกลุ่มจังหวัดยังต้องให้ความสำคัญต่อการสนับสนุนและการพัฒนาบุคลากรเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในการจัดทำแผน และงบประมาณได้มีสมรรถนะความสามารถ

108 แบบฟอร์มการจัดทำโครงร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปี
ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ส่วนที่ 1 สรุปผลการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ส่วนที่ 2 โครงร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปีฯ

109 ส่วนที่ 1 สรุปผลการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด ประกอบด้วย 1.1 ใบสรุปผลการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด 1.2 แบบสรุปข้อมูลแผนพัฒนาจังหวัด/ 1.3 แบบ จ. 1 (จังหวัด) /แบบ กจ. 1 (กลุ่มจังหวัด)

110 ผลการทบทวน/เหตุผลประกอบ
ส่วนที่ 1 1.1 ใบสรุปผลการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ประเด็น ผลการทบทวน/เหตุผลประกอบ วิสัยทัศน์ …………………………  คงเดิม  ปรับปรุงใหม่เป็นดังนี้ เหตุผล ประเด็นยุทธศาสตร์ที่... - เป้าประสงค์ - ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์  คงเดิม  ปรับปรุงใหม่เป็นดังนี้

111 ส่วนที่ 1 ทั้งนี้ ให้แนบข้อมูลสำคัญที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นเหตุผลประกอบด้วย ดังนี้ 1. ข้อมูลทั่วไปของจังหวัดเกี่ยวกับข้อมูลการปกครอง ประชากร โครงสร้างพื้นฐาน และข้อมูลเชิงสถิติที่สำคัญในพื้นที่ รวมทั้งข้อมูลสรุปผลการดำเนินการที่ผ่านมา (เพื่อดูการดำเนินงานในแต่ละปีที่ผ่านมาว่ามีการดำเนินบรรลุตามเป้าหมายของยุทธศาสตร์ของ แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดมากน้อยเพียงใด) 2. ข้อมูลการวิเคราะห์ศักยภาพด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้ครบทุกมิติสำคัญของพื้นที่ และระบุทิศทางหรือนโยบายการพัฒนาในมิติที่สำคัญทุกด้านในพื้นที่ (การประเมินสถานการณ์สภาพแวดล้อมภายนอกที่เกี่ยวข้อง โดยการทำ SWOT Analysis หรือ เครื่องมืออื่นๆ ว่ามีผล/ไม่มีผลกระทบต่อศักยภาพและทิศทางการพัฒนาของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด) 3. ข้อมูลแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ตามแบบสรุปที่ 1.2 และแบบ จ. 1 /แบบ กจ. 1

112 ส่วนที่ 1 1.2 แบบสรุปข้อมูลแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด 1) วิสัยทัศน์ 2) พันธกิจ/เป้าประสงค์รวม (ถ้ามี) 3) ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมายและกลยุทธ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ปี 53-56 กลยุทธ์ 1. 2. 3. 4. 4) สรุปบัญชีรายการชุดโครงการ (ปี ) ประเด็นยุทธศาสตร์ โครงการ จำนวน งบประมาณ (บาท) 1. …………………… 1.1 โครงการของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด 1.2 โครงการของกระทรวง กรม 1.3 โครงการของ อปท. 1.4 โครงการความร่วมมือจากชุมชน หรือภาคเอกชน 2. …………………… รวม

113 ส่วนที่ 1 แบบ จ. 1 1.3 แบบ จ.1 /แบบ กจ. 1
1.3 แบบ จ.1 /แบบ กจ. 1 แบบ จ. 1 แบบฟอร์มการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ – พ.ศ วิสัยทัศน์ : (1) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ (2) เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ (3) ตัวชี้วัด (4) ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ (7) พ.ศ. .... (5) พ.ศ.... – พ.ศ.... (6) บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดำเนินการ หน่วยดำเนินการ (12) โครงการ (8) แหล่ง งปม. (9) ผลผลิต (10) พ.ศ. .... (11) 1. โครงการ 2. โครงการ 3. โครงการ

114 ส่วนที่ 2 โครงร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปีฯ ประกอบด้วย
2.1 สรุปเค้าโครงร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2555 2.2 ประเด็นยุทธศาสตร์และชื่อโครงการภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์ ซึ่งจะต้องมีการจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้วย (จัดทำทุกประเด็นยุทธศาสตร์) 2.3 โครงการแบบย่อ(Project Brief) (จัดทำเฉพาะโครงการสำคัญ (Flagship Project) ตามประเด็นยุทธศาสตร์ ที่เป็นโครงการที่ดำเนินการโดยจังหวัด/กลุ่มจังหวัด)

115 ส่วนที่ 2 2.1 สรุปเค้าโครงร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2555
จังหวัด/กลุ่มจังหวัด ประเด็นยุทธศาสตร์ โครงการ จำนวน งบประมาณ (บาท) 1. ……………………. 1.1 โครงการของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด 1.2 โครงการของกระทรวง กรม 1.3 โครงการของ อปท. 1.4 โครงการความร่วมมือจากชุมชน หรือภาคเอกชน รวม 2. …………………… 2.1 โครงการของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด 2.2 โครงการของกระทรวง กรม 2.3 โครงการของ อปท. 2.4 โครงการความร่วมมือจากชุมชน หรือภาคเอกชน  รวม

116 (ระบุชื่อ อปท. โดยเรียงตามลำดับ ดังนี้ อบจ. เทศบาล และ อบต.)
2.2 ประเด็นยุทธศาสตร์และชื่อโครงการภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ (โดยต้องมีการจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้วย) ส่วนที่ 2 ชื่อโครงการ งบประมาณ หน่วยดำเนินงาน โครงการของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด* ………………………………………. ………………………………………… ……………… ………………… ……………………… โครงการของกระทรวง กรม ………….……. (ระบุชื่อกระทรวง กรม โดยเรียงตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม) โครงการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ระบุชื่อ อปท. โดยเรียงตามลำดับ ดังนี้ อบจ. เทศบาล และ อบต.) …………………… โครงการความร่วมมือจากชุมชน หรือภาคเอกชน หมายเหตุ * 1. โครงการที่ดำเนินการโดยจังหวัด/กลุ่มจังหวัด เป็นโครงการที่จะนำมาจัดทำเป็นคำของบประมาณของจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด 2. โครงการสำคัญ (Flagship Project) ตามประเด็นยุทธศาสตร์ของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ให้จัดทำโครงการแบบย่อ (Project Brief) ประกอบด้วย

117 2.3 โครงการแบบย่อ (Project Brief) ส่วนที่ 2
ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ลำดับความสำคัญของโครงการ ชื่อโครงการ 2. ความสำคัญของโครงการ หลักการและเหตุผล 3. วัตถุประสงค์ของโครงการ 4. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 5. ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ 6. ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ ความพร้อมของโครงการ 7. ระยะเวลา 8. กิจกรรมที่สำคัญของโครงการ 9. งบประมาณ 10. ผู้รับผิดชอบ 11. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หมายเหตุ จัดทำเฉพาะโครงการสำคัญ (Flagship Project) ตามประเด็นยุทธศาสตร์ ที่เป็นโครงการ ที่ดำเนินการโดยจังหวัด/กลุ่มจังหวัด

118 5 ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาคุณภาพการผลิตและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ข้าวหอมมะลิคุณภาพ ตัวอย่าง โครงการแบบย่อ (Project Brief) ชื่อโครงการ การพัฒนา/ยกระดับมาตรฐานตลาดกลางข้าวหอมมะลิ ให้ได้รับการยอมรับระดับสากล 2. ความสำคัญของโครงการ หลักการและเหตุผล ยกระดับราคาและมาตรฐานของข้าวหอมมะลิให้เป็นที่ยอมรับของต่างประเทศ เพื่อพัฒนาการส่งออกข้าวหอมมะลิไทย 3. วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. พัฒนาระบบการผลิตและบรรจุภัณฑ์ข้าวหอมมะลิ 2. พัฒนาระบบตลาดกลางเพื่อการส่งออก 4. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ราคาเฉลี่ยของข้าวหอมมะลิสูงขึ้น ทำให้เกษตรกรในกลุ่มจังหวัด มีรายได้เพิ่มขึ้น โดยประมาณมากกว่า 5,000 ราย 5. ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ ราคาข้าวหอมมะลิ เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 รายได้เกษตรกรเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 6. ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ ความพร้อมของโครงการ เป้าประสงค์ – ข้อที่... ประเด็นยุทธศาสตร์ข้อที่... (พัฒนาคุณภาพการผลิตและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ข้าวหอมมะลิคุณภาพ) แนบภาพห่วงโซ่อุปทาน (value chain) (ถ้ามี) 7. ระยะเวลา ม.ค – มิ.ย. 2554 8. กิจกรรมที่สำคัญของโครงการ พัฒนาการตลาด 9. งบประมาณ 39 ล้านบาท (แนบรายละเอียดการวิเคราะห์งบประมาณเบื้องต้น ตามที่สำนักงบประมาณกำหนด) 10. ผู้รับผิดชอบ กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 (จังหวัดร้อยเอ็ด) 11. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กรมวิชาการเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กรมส่งเสริมการส่งออก * ข้อมูลที่ปรากฎเป็นเพียงตัวอย่างประกอบเท่านั้น

119 การวิจัย และพัฒนา(R&D)
ประเด็นยุทธศาสตร์ : พัฒนาคุณภาพการผลิตและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ข้าวหอมมะลิคุณภาพ การวิจัย และพัฒนา(R&D) + ปัจจัยพื้นฐาน การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การแปรรูป เพิ่มและสร้าง คุณค่า การพัฒนา ระบบ การตลาด การบริหารจัดการ สินค้า (Logistics) การพัฒนา เกษตรกรและ สถาบัน เกษตรกร ตัวอย่าง การวิจัยและพัฒนา เทคโนโลยีการเกษตร การพัฒนาและ ปรับปรุงพันธ์ข้าว หอมมะลิ การพัฒนาพื้นที่ทุ่งกุลา ร้องไห้ แหล่งน้ำและ ระบบชลประทาน การวางแผนการผลิตของ ประเทศ โดยคำนึงถึงการ จัดสรร การใช้พื้นที่ การบูรณาการการรับรอง มาตรฐานสำหรับประเทศ ที่ทัดเทียมสากล การส่งเสริมการจัดทำ ระบบ Zero Waste การจัด model ตัวอย่าง เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี การแปรรูปข้าวหอมมะลิ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ การพัฒนาระบบประกัน ราคาข้าวและตลาดซื้อขาย ล่วงหน้า การทำการตลาดเพื่อ ประชาสัมพันธ์ข้าวหอม มะลิสู่ครัวโลก วางแผนเส้นทางขนส่ง ในประเทศ เพื่อรองรับ ASEAN Supply Chain จัดตั้งศูนย์กระจายสินค้า เพื่อเป็นจุดส่งผ่านสินค้า ทั้งในและต่างประเทศ ส่งเสริมความร่วมมือกัย สถาบันการศึกษา เพื่อ อบรมผู้ประกอบและ สร้างความแข็งแกร่งใน ด้านโล จิสติกส์และซัพ พลายเชน บริการปรึกษาแนะนำ เทคโนโลยีการผลิตใหม่ อาทิ Post Harvest Technology สนับสนุนสินเชื่อและการ แปลงสินทรัพย์ให้เป็นทุนแก่ เกษตรกร ระดับกระทรวง การปรับปรุงคุณภาพแม่น้ำ ชีที่มีมลพิษ การพัฒนาระบบเกษตร อินทรีย์ (Organic Farm) โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อลดการใช้สารเคมี การพัฒนาการบริหาร จัดการเพื่อขอรับรอง มาตรฐานคุณภาพเพื่อการ ส่งออกGAP/GMP/HACCP การคัดแยกข้าวหอมมะลิ ตามคุณภาพเพื่อจัดเกรด สินค้า การพัฒนากระบวนการ แปรรูปและ วัสดุเหลือใช้ ภาคการเกษตร ส่งเสริมให้เอกชนมา ลงทุนระบบการเก็บ รักษาข้าวหอมมะลิ การเจรจาจับคู่ระหว่างผู้ส่งออกและเกษตรกร (Contract Farming) การพัฒนา/ยกระดับมาตรฐานตลาดกลางข้าวหอมมะลิ ให้ได้รับการยอมรับระดับสากล การพัฒนาจัดการข้อมูลการตลาด (Market Intelligence Unit) โดยมีการรวบรวมข้อมูลผลิตภัณฑ์ นาข้าวการเกษตร ในพื้นที่ทั้งหมด การจัดงานแสดงสินค้าผลิตภัณฑ์การเกษตรระดับท้องถิ่น การวิจัย และพัฒนาข้าวหอมมะลิชนิดพิเศษ การจัดตั้งศูนย์พัฒนา อุตสาหกรรมการเกษตร เพื่อส่งออกแบบครบวงจร ในพื้นที่ (Food Processing Capacity Building and Export Development Center) การส่งเสริม สืบทอด วัฒนธรรมและวิถีชีวิตทาง การเกษตร ระดับกลุ่มจังหวัด ระดับจังหวัด การส่งเสริมจัดทำปุ๋ย หมักชีวภาพใช้ในระดับ ชุมชน เพื่อเพิ่มรายได้ ให้เกษตรกร การทำส่งเสริมการรวมกลุ่ม ของเกษตรกรและการจัดตั้ง สหกรณ์การเกษตรใน ชุมชน การทำแปลงสาธิตเกษตร อินทรีย์ในระดับอำเภอ และระดับตำบล การส่งเสริมให้เกษตรกร ใช้น้ำส้มควันอ้อยเพื่อ กำจัดศัตรูพืช ระดับท้องถิ่น * ข้อมูลที่ปรากฎเป็นเพียงตัวอย่างประกอบเท่านั้น 119 119 119

120 แนวทางการพัฒนาการผลิตสินค้าเกษตร/เกษตรอุตสาหกรรมของกลุ่มจังหวัด
การวิจัย และพัฒนา(R&D) + ปัจจัยพื้นฐาน การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การแปรรูป เพิ่มและสร้าง คุณค่า การพัฒนา ระบบ การตลาด การบริหารจัดการสินค้า (Logistics) การพัฒนา เกษตรกรและ สถาบัน เกษตรกร ตัวอย่าง การวิจัยและพัฒนา เทคโนโลยีการเกษตร การพัฒนาพันธ์พืชและ ปศุสัตว์ที่สำคัญ การพัฒนาพื้นที่การ เกษตร แหล่งน้ำและ ระบบชลประทาน การวางแผนการผลิตของ ประเทศ โดยคำนึงถึงการ จัดสรรการใช้พื้นที่ การบูรณาการการรับรอง มาตรฐานสำหรับประเทศ ที่ทัดเทียมสากล การส่งเสริมการจัดทำ ระบบ Zero Waste การจัดทำฟาร์มตัวอย่าง เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี การแปรรูปวัสดุเหลือใช้ ทางการเกษตร การพัฒนาระบบประกัน ราคาพืชผลและตลาดซื้อ ขายล่วงหน้า การทำการตลาดเพื่อ ประชาสัมพันธ์การเป็น ฐานผลิตอาหารระดับโลก วางแผนเส้นทางขนส่ง ในประเทศ เพื่อรองรับ ASEAN Supply Chain จัดตั้งศูนย์กระจายสินค้า เพื่อเป็นจุดส่งผ่านสินค้า ทั้งในและต่างประเทศ ส่งเสริมความร่วมมือกัย สถาบันการศึกษา เพื่อ อบรมผู้ประกอบและ สร้างความแข็งแกร่งใน ด้านโล จิสติกส์และซัพ พลายเชน บริการปรึกษาแนะนำ เทคโนโลยีการผลิตใหม่ อาทิ Post Harvest Technology สนับสนุนสินเชื่อและการ แปลงสินทรัพย์ให้เป็นทุนแก่ เกษตรกร ระดับกระทรวง การปรับปรุงคุณภาพแม่ น้ำท่าจีนที่มีมลพิษ การพัฒนาระบบเกษตร อินทรีย์ (Organic Farm) โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อลดการใช้สารเคมี การพัฒนาการบริหาร จัดการฟาร์มเพื่อขอรับรอง มาตรฐานคุณภาพเพื่อการ ส่งออกGAP/GMP/HACCP การคัดแยกสินค้าตาม คุณภาพเพื่อจัดเกรด สินค้า การพัฒนากระบวนการ แปรรูปพืชพลังงานและ วัสดุเหลือใช้ ภาค การเกษตร ส่งเสริมให้เอกชนมา ลงทุนระบบห้องเย็นเพื่อ เก็บรักษาสินค้าเกษตร การเจรจาจับคู่ระหว่างผู้ส่งออกและเกษตรกร (Contract Farming) การพัฒนา/ยกระดับมาตรฐานตลาดกลางสินค้าเกษตร (ตลาดทุ่งศรีเมือง) ให้ได้รับการยอมรับระดับสากล การพัฒนาจัดการข้อมูลการตลาด (Market Intelligence Unit) โดยมีการรวบรวมข้อมูลผลิตภัณฑ์ ฟาร์มเกษตร ในพื้นที่ทั้งหมด การจัดงานแสดงสินค้าผลิตภัณฑ์การเกษตรระดับท้องถิ่น การจัดตั้งศูนย์พัฒนา อุตสาหกรรมการเกษตร เพื่อส่งออกแบบครบวงจร ในพื้นที่ (Food Processing Capacity Building and Export Development Center) การส่งเสริม สืบทอด วัฒนธรรมและวิถีชีวิตทาง การเกษตร ระดับกลุ่มจังหวัด ระดับจังหวัด การทำแปลงสาธิตเกษตร อินทรีย์ในระดับอำเภอ และระดับตำบล การส่งเสริมให้เกษตรกร ใช้น้ำส้มควันอ้อยเพื่อ กำจัดศัตรูพืช การส่งเสริมจัดทำปุ๋ย หมักชีวภาพใช้ในระดับ ชุมชน เพื่อเพิ่มรายได้ ให้เกษตรกร การทำส่งเสริมการรวมกลุ่ม ของเกษตรกรและการจัดตั้ง สหกรณ์การเกษตรใน ชุมชน ระดับท้องถิ่น 120 120

121 แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัด
การพัฒนาสินค้าและบริการ ด้านท่องเที่ยว การตลาดและประชาสัมพันธ์ การบริหารจัดการ ด้านการท่องเที่ยว การพัฒนามาตรฐานและ ความปลอดภัย โครงสร้างพื้นฐาน ตัวอย่าง กำหนดกรอบการพัฒนาใน ภาพรวม กำหนดกรอบการพัฒนา เอกลักษณ์ / มรดกทาง วัฒนธรรมในพื้นที่ ให้ข้อมูลเส้นทาง/แหล่ง ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม และ พิพิธภัณฑ์ชุมชน จัดทำข้อมูลแนวโน้ม/ทิศทาง การท่องเที่ยวในอนาคต พัฒนาตลาดและประชาสัมพันธ์ในภาพรวมของประเทศ สร้างความเชื่อมั่นให้แก่นักท่องเที่ยว และการลงทุน ประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์ และวางแผนส่งเสริมการท่องเที่ยวของประเทศ ภูมิภาค และจังหวัดทั้งในประเทศ และต่างประเทศ สนับสนุนกลุ่มจังหวัด/จังหวัดที่มีศักยภาพในการทำการตลาดไปยังต่างประเทศ สร้างความร่วมมือ ระหว่างหน่วยงานต่างๆในการพัฒนาการท่องเที่ยวในภาพรวม ของประเทศ ออกกฎระเบียบ มาตรฐาน และคู่มือสำหรับการควบคุมคุณภาพในภาพรวม ดำเนินการด้านความปลอดภัย บริหารจัดการข้อมูลการท่องเที่ยวในภาพรวม กำหนดมาตรการส่งเสริม การลงทุน กำหนดมาตรฐานและทิศทางการพัฒนาบุคลากร กำหนดกรอบข้อกำหนด และความคุ้มค่าในการลงทุนในการร่วมลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานระหว่างภาครัฐและเอกชน บริหารการขนส่งนักท่องเที่ยวในภาพรวม ส่งเสริมการท่องเที่ยวผ่านช่องทางที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย ระดับกระทรวง พัฒนาจุดดึงดูดที่เหมาะสมสำหรับพื้นที่กลุ่มจังหวัด ดำเนินการพัฒนาร่วมกับหน่วยงานต่างๆในกลุ่มจังหวัด พัฒนาให้เหมาะสมสำหรับพื้นที่จังหวัดและเชื่อมโยงกับกลุ่ม ดูแลรักษาปัจจัยพื้นฐานภายในแหล่งท่องเที่ยว พัฒนาการตลาดในภาพรวมของกลุ่มจังหวัด ทำการตลาดกลุ่มจังหวัดไปยังต่างประเทศ ประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวที่เป็นเอกลักษณ์ของกลุ่มจังหวัด พัฒนาการตลาดในภาพรวมของจังหวัด ทำการตลาดจังหวัดไปยังต่างประเทศ ประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัด สร้างความร่วมมือ ระหว่างหน่วยงานต่างๆ ในการพัฒนาการท่องเที่ยวภายใน กลุ่มจังหวัด สร้างความร่วมมือ ระหว่างหน่วยงานต่างๆในการพัฒนาการท่องเที่ยวภายในจังหวัด และเชื่อมโยงกับกลุ่มจังหวัด สนับสนุนการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยว ให้ได้มาตรฐาน ปรับใช้มาตรฐานที่เหมาะสมกับกลุ่มจังหวัด ฟื้นฟู และแก้ไขปัญหาในพื้นที่กลุ่มจังหวัด ควบคุมดูแลการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวให้มีมาตรฐาน ดูแลรักษาความปลอดภัยให้กับนักท่องเที่ยว การดูแลความปลอดภัยในพื้นที่ล่อแหลม บริหารจัดการข้อมูลการท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัด สนับสนุนการพัฒนาบุคลากรและการสร้างเครือข่าย เชื่อมโยงการขนส่งนักท่องเที่ยวในกลุ่มจังหวัด กับระบบหลัก ส่งเสริมการร่วมทุนโครงสร้างพื้นฐานระหว่างภาครัฐและเอกชน รวบรวมข้อมูลการท่องเที่ยว ในจังหวัด ควบคุมมาตรฐานการให้ บริการของบุคลากร เชื่อมโยงการขนส่งนักท่องเที่ยวในจังหวัดกับระบบหลัก ระดับกลุ่มจังหวัด ระดับจังหวัด 121 121 121 121

122 แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมของกลุ่มจังหวัด
พัฒนาละบริหารปัจจัยพื้นฐาน การผลิต พัฒนาประสิทธิภาพ และมาตรฐานการผลิต พัฒนาการแปรรูป เพิ่มมูลค่ายกระดับคุณภาพสินค้า พัฒนา ระบบตลาด พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นต่อการลงทุน ตัวอย่าง พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการ ผลิตเพื่อภาคอุตสาหกรรม เช่น แหล่งน้ำ ระบบชลประทาน ทรัยพากรดิน ศึกษาพื้นที่ที่เหมาะสมในการ จัดตั้งโรงงานอุตสาหกรรม จัดสรรพื้นที่เขตอุตสาหกรรม ของประเทศ พัฒนาความพร้อมด้าน ทรัพยากรของประเทศ ที่เป็น วัตถุดิบที่สำคัญจำเป็นต่อ ภาคอุตสาหกรรม กำหนดมาตรฐานการผลิตระดับสากล เช่น ISO ต่างๆ กำหนดมาตรฐานโรงงานอุตสาหกรรมและส่งเสริมโรงงานอุตสาหกรรมให้ได้รับการรับรองมาตรฐาน รับรองและตรวจสอบมาตรฐานการผลิตและมาตรฐานโรงงานอุตสาหกรรม สนับสนุนการลดต้นทุน/การเข้าถึงแหล่งทุนให้แก่ภาคอุตสาหกรรม วิจัยและพัฒนาการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ พัฒนาและถ่ายทอดการแปรรูปและเทคโนโลยีการแปรรูป ส่งเสริมการแปรรูป การเพิ่มมูลค่าสินค้า และการยกระดับมาตรฐานและคุณภาพสินค้า พัฒนาฐานข้อมูลด้านการตลาด (Market Intelligence Unit) พัฒนาศักยภาพทางการตลาดและประชาสัมพันธ์สินค้าอุตสาหกรรมของประเทศ ทั้งตลาดภายในประเทศและตลาดต่างประเทศ พัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านอุตสาหกรรมของประเทศ พัฒนาความรู้และทักษะฝีมือแรงงาน และบุคลากรภาครัฐและเอกชนในภาคอุตสาหกรรม พัฒนาและเชื่อมโยงระบบโครงข่ายการคมนาคมขนส่งและกระจายสินค้า ส่งเสริมและพัฒนาการบริหารจัดการด้าน Logistics และ Supply Chain จัดตั้งศูนย์กระจายสินค้า ส่งเสริมและอำนวยความสะดวกต่อการลงทุนในภาคอุตสาหกรรม ระดับกระทรวง ศึกษาและพัฒนาความพร้อมด้านวัตถุดิบที่จำเป็นต่อภาคอุตสาหกรรมในกลุ่มจังหวัด พัฒนาพื้นที่การเกษตร และเชื่อมโยงแหล่งน้ำและระบบชลประทานในกลุ่มจังหวัด ศึกษาและพัฒนาความพร้อมด้านวัตถุดิบที่จำเป็นต่อภาคอุตสาหกรรมในจังหวัด พัฒนาและบริหารจัดการพื้นที่การเกษตร และแหล่งน้ำภายในจังหวัด พัฒนาระบบและเทคโนโลยีการผลิตและการบริหารจัดการของโรงงานให้ได้มาตรฐาน สะอาด ปลอดภัย เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ลดต้นทุน/การเข้าถึงแหล่งทุนให้แก่อุตสาหกรรมสำคัญที่มีศักยภาพของกลุ่มจังหวัด พัฒนาอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อมและชุมชน เชื่อมโยงกับระบบการบริหาร จัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมของกลุ่มจังหวัด ลดต้นทุน/การเข้าถึงแหล่งทุน ให้แก่อุตสาหกรรมในจังหวัด ส่งเสริมและพัฒนาการแปรรูป การเพิ่มมูลค่า และการยกระดับ คุณภาพสินค้าที่ผลิตภายในกลุ่มจังหวัด พัฒนาการรวมกลุ่มอุตสาหกรรม (Cluster) แปรรูป อบรมการแปรรูป การเพิ่มมูลค่าสินค้า และ การยกระดับคุณภาพสินค้าให้กับผู้ประกอบการในจังหวัด จับคู่ธุรกิจการผลิตของภาคอุตสาหกรรม “Business Matching” เพิ่มประสิทธิภาพการตลาดและเชื่อมโยงการตลาดสำหรับสินค้าอุตสาหกรรมของกลุ่มจังหวัด ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์สินค้าอุตสาหกรรมของกลุ่มจังหวัด พัฒนามาตรฐานระบบการตลาดสินค้าของจังหวัด ประชาสัมพันธ์สินค้าอุตสาหกรรมของจังหวัด พัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านอุตสาหกรรมของกลุ่มจังหวัด ยกระดับความรู้ความสามารถ ของผู้ประกอบการและแรงงาน ในกลุ่มจังหวัด พัฒนาเครือข่ายผู้ผลิต/ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมศักยภาพของกลุ่มจังหวัด พัฒนาและเชื่อมโยงระบบการคมนาคมขนส่งและกระจาย สินค้าในกลุ่มจังหวัด พัฒนาฐานข้อมูลด้านอุตสาหกรรมของจังหวัดและเชื่อมโยงกับจังหวัดอื่นๆ ใน กลุ่มจังหวัด พัฒนาทักษะฝีมือแรงงานจังหวัด พัฒนาการคมนาคมขนส่งและ โลจิสติกส์และเชื่อมโยงกับ จังหวัดอื่นในกลุ่มจังหวัด พัฒนา Cluster ในอุตสาหกรรม ที่สำคัญของจังหวัด ระดับกลุ่มจังหวัด ระดับจังหวัด 122 122 122 122

123 แนวทางการพัฒนาทรัพยากรรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของกลุ่มจังหวัด
ตัวอย่าง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ เช่น น้ำ ป่าไม้ ชายฝั่ง และอื่น ๆ ป้องกัน แก้ไข รวม รณรงค์ให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สนับสนุนการอนุรักษ์ และการใช้ประโยชน์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนที่ สามารถตอบสนองเป้าหมายการพัฒนาประเทศใน ด้านเศรษฐกิจ สังคม กำหนดแนวทางการบริหารจัดการการพัฒนาและการอนุรักษ์ร่วมกันอย่างเป็นระบบ ศึกษาโอกาสและผลกระทบของภัยธรรมชาติหรือปัญหาที่จะเกิดขึ้นในภาพรวมของประเทศ ระดับกระทรวง แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดในพื้นที่ที่ต้องดำเนินการร่วมกันเป็นกลุ่ม แก้ไขปัญหาความขัดแย้ในการใช้ทรัพยากรร่วมกันในกลุ่ม สำรวจพื้นที่และดำเนินการฟื้นฟูพื้นที่ที่จำเป็น แก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เกิดในพื้นที่จังหวัด แก้ไขปัญหาการเข้าถึงและการกระจายการใช้ประโยชน์ทรัพยากร สร้างความร่วมมือในการบริหารจัดการร่วมกันทั้งภายในและระหว่างกลุ่มจังหวัด กำหนดแนวทางการอนุรักษ์และฟื้นฟูร่วมกันในกลุ่มจังหวัด ประสานงานกับหน่วยงานตามภารกิจ และเครือข่ายความร่วมมือภายในพื้นที่จังหวัดในการบริหารจัดการ หาแนวทางในการป้องกันปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เกิดในพื้นที่กลุ่มจังหวัด แนวทางการใช้ประโยชน์ทรัพยากรตามเป้าหมายการพัฒนากลุ่มจังหวัด หาแนวทางในการป้องกันปัญหาที่เกิดในพื้นที่จังหวัดที่สามารถดำเนินการได้เอง รณรงค์สร้างจิตสำนึกและให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ แนวทาการพัฒนา อนุรักษ์ และใช้ประโยชน์จากทรัพยากร เพื่อสนองความต้องการพื้นฐานและการประกอบอาชีพของประชาชน ระดับกลุ่มจังหวัด ระดับจังหวัด 123 123 123

124 แนวทางการพัฒนาสังคมของจังหวัด
ที่อยู่อาศัย สุขภาพอนามัย การศึกษา การมีงานทำและรายได้ ความมั่นคงส่วนบุคคล ครอบครัว ตัวอย่าง วางกรอบการพัฒนาโครงสร้าง สาธารณูปโภค และผังเมือง โดยรวม พัฒนาความมั่นคงในการอยู่ อาศัยในเมืองและในชนบท และประชาชนผู้มี รายได้น้อย พัฒาสภาพแวดล้อมของ ประชาชนให้เป็นชุมชน น่าอยู่ สร้างสมรรถนะของชุมชนให้ เป็นชุมชนเข้มแข็ง เฝ้าระวังโรคภัย และปัญหาสาธารณสุขที่เกิดขึ้นในประเทศ วางแนวทางการพัฒนาการศึกษาโดยรวมของประเทศ ส่งเสริมให้ประชาชนมีงานทำ และกำหนดรายได้ขั้นต่ำเพื่อให้เหมาะสม ขยายโอกาสและเพิ่มทางเลือกในการประกอบอาชีพ พัฒนาฝีมือแรงงานตามมาตรฐานแรงงาน ส่งเสริมและคุ้มครองให้แรงงานมีความมั่นคงในการทำงานและสวัสดิการแรงงานเพิ่มขึ้น วางแนวทางและมาตรการในการดูแลรักษาความสงบเรียบร้อย และความปลอดภัยให้แก่ประชาชน วางแนวทางและมาตรการในการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการแก่ประชาชน สร้างชุมชนเข้มแข็งปลอดยาเสพติด วางแนวทาง และส่งเสริมประชาสัมพันธ์ขนบธรรมเนียมประเพณี และค่านิยมที่พึงปฏิบัติ กำหนดมาตรการและแนวทางในการเสริมสร้างสถาบันครอบครัวเข้มแข็ง ระดับกระทรวง วางระบบผังเมืองให้เหมาะสมกับพื้นที่ วางมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อจังหวัด เสริมสร้างสมรรถนะท้องถิ่นให้มีความรู้ในการวางแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกันแก้ไขปัญหาชุมชนแออัดของจังหวัด เสริมสร้างสมรรถนะท้องถิ่นเพื่อรองรับมอบโอนระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการต่างๆ ดูแลป้องกันปัญหาสาธารณสุขภายในพื้นที่ การปรับปรุงหลักสูตรไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับพื้นที่ ส่งเสริมให้ประชาชนมีงานทำและเพิ่มทางเลือกในการประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับจังหวัด พัฒนาฝีมือของแรงงานให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานในจังหวัด ส่งเสริมให้แรงงานมี ความมั่นคงในการทำงานและสวัสดิการแรงงานเพิ่มขึ้น ดูแลรักษาความมั่นคงและความปลอดภัยให้กับประชาชนในพื้นที่จังหวัด ส่งเสริมการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการแก่ประชาชนในพื้นที่จังหวัด ส่งเสริมสนับสนุนและให้คำปรึกษาในการดำเนินงานตามมาตรการและแนวทางที่กำหนด นำแนวทางมาประชาสัมพันธ์ และรณรงค์ให้แก่ประชาชนในพื้นที่ดำเนินตาม ดำเนินการตามมาตรการและแนวทางเสริมสร้างสถาบันครอบครัวเข้มแข็ง ระดับจังหวัด 124 124 124

125 ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ ผลลัพธ์
การจัดการห่วงโซ่คุณค่า ผลผลิตมังคุดและเงาะ จังหวัดนครศรีธรรมราช และกลุ่ม จว.ใต้บน ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ ผลลัพธ์ ศึกษาความต้องการและคู่แข่ง ใน - ต่าง ประ เทศ สำรวจปริมาณ การผลิต ใน- นอก ฤดู ด้วย GIS พัฒนาเกษตรแบบปลอดภัย ใน-นอก ฤดู GAP การจัดองค์กร ชาว สวน ทุน+คน+ ความรู้ 5 P. วิจัยและพัฒนา การเก็บเกี่ยว พัฒนา การแปร รูป และ ผลิตภัณฑ์ กองทุน ส่งเสริมการแปรรูป เชื่อมโยงวัตถุดิบ ศึกษาการ ตลาด ใน – ต่าง ประ เทศ พัฒนาช่องทางจำหน่าย ผลผลิต สด และ แปรรูป ใน-นอก ประเทศ ติด ตาม ประ เมิน คู่ค้า และ กล ไก 8ความยั่งยืนของนิเวศน์,เศรษฐกิจชาวสวนมั่นคง, ความ สัมพันธ์ ผู้ผลิต- ผู้บริโภคและการค้าที่เป็นธรรม การวิจัยและพัฒนาสารสนเทศเพื่อรองรับระบบสนับสนุนการตัดสินใจของภาคีที่เกี่ยวข้องทุกระดับ - พ.ศ โครงการพัฒนา GIS ไม้ผล (เกษตรจังหวัด+ชาวสวน) โครงการศึกษาคู่แข่งการผลิตไม้ผลเชิงลึก (ศูนย์ส่งออกสุราษฎร์ฯ+ TTCทั่วโลก ) โครงการพัฒนา GAP เพื่อการส่งออก( สนง.วิจัยและพัฒนาการเกษตรที่ 7 สฎ.) โครงการยืดอายุเงาะ(สกว.+ชาวสวน นคร) โครงการวิจัยและพัฒนาโรงงานต้นแบบแปรรูปเงาะ มังคุด ลองกอง บ้านคีรีวง ลานสกา นครฯ(วิสาหกิจชุมชน+สปน.+ก. อุต) โครงการกองทุนส่งเสริมการแปรรูปไม้ผล (ธกส.+หอการค้า+สหกรณ์+วิสาหกิจ ชช.) โครงการจับคู่พัฒนาตลาดพิเศษ –Niche Mar. Duo ( วิสาหกิจ ชช. + บริษัทส่งออก + TCC นำร่อง + ห้างเดอะมอลล์) โครงการพัฒนาทายาทชาวสวนสู้ตลาดโลก ( กรมส่งเสริมการส่งออก + สกว.+ ชาวสวน ) โครงการผลิตภัณฑ์ ไซรัปผลไม้ส่งออก (สกว. + วิสาหกิจฯคีรีวง + TTC นำร่อง ) 125

126 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงพาณิชย์
Policy การเชื่อมโยง Area VCP สู่ Policy VCP กรณีผลผลิตทางการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงพาณิชย์ กำหนดนโยบาย ส่งเสริมการแข่งขันการค้าที่เสรีและเป็นธรรม ส่งเสริมธุรกิจการค้าและบริการ ส่งเสริมและพัฒน าตลาดเพื่อส่งออก เจรจาการค้า บริหารการค้า ระหว่างประเทศ กำหนดนโยบาย พัฒนา ผลผลิต บริหารจัดการ ทรัพยากรการผลิต ส่งเสริมพัฒนา กษ. และ สหกรณ์ กระทรวงต่างประเทศ กระทรวงอุตสาหกรรม กำหนดนโยบาย ความสัมพันธ์ ทวิภาคี ความสัมพันธ์ พหุภาคี กำหนดนโยบาย ส่งเสริม การลงทุน พัฒนาประสิทธิ ภาพการผลิต ส่งเสริม อุตสาหกรรม Area ศึกษาความต้องการและคู่แข่ง ใน - ต่าง ประ เทศ สำรวจปริมาณ การผลิต ใน- นอก ฤดู ด้วย GIS พัฒนาเกษตรแบบปลอดภัย ใน-นอก ฤดู GAP การจัดองค์กร ชาว สวน ทุน+คน+ ความรู้ 5 P. วิจัยและพัฒนา การเก็บเกี่ยว พัฒนา การแปร รูป และ ผลิตภัณฑ์ กองทุน ส่งเสริมการแปรรูป เชื่อมโยงวัตถุดิบ ศึกษาการ ตลาด ใน – ต่าง ประ เทศ พัฒนาช่องทางจำหน่าย ผลผลิต สด และ แปรรูป ใน-นอก ประเทศ ติด ตาม ประ เมิน คู่ค้า และ กล ไก 8ความยั่งยืนของนิเวศน์,เศรษฐกิจชาวสวนมั่นคง, ความ สัมพันธ์ ผู้ผลิต- ผู้บริโภคและการค้าที่เป็นธรรม

127 การบูรณาการแผนท่องเที่ยว
ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ ความต้องการของชุมชน งานวิจัยในการส่งเสริมการท่องเที่ยว พัฒนากลไก ประสานงานและบูรณาการแผนการท่องเที่ยวหลัก พัฒนาระบบ บริหารและจัดการ การท่องเที่ยว พัฒนาปัจจัยพื้นฐาน ด้านการท่องเที่ยว พัฒนาและปรับปรุง แหล่งท่องเที่ยว พัฒนาศักยภาพ บุคลากร ส่งเสริมการตลาด ประชาสัมพันธ์ พัฒนาแหล่ง ท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืน เป้าประสงค์/ การขับเคลื่อน *การรวมกลุ่มในการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยว * โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศแบบยั่งยืนมอหินขาว / การจัดการชุมชนบ้านร่องกล้า/ชุมชนในอุทัยธานี * พัฒนาการมีส่วนร่วมในการวางแผนและพัฒนาพื้นที่ ปฏิบัติการร่วม * กำหนดบทบาทหน้าที่และแต่งตั้งคณะกรรมการร่วม และคณะทำงานชุดต่างๆ * ผลักดันให้เกิดบันทึกข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือโครงการ พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวมอหินขาวในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่า ภูแลนคาด้านทิศเหนือ จังหวัดชัยภูมิ (ระหว่างกรมป่าไม้ กรมอุทยานแห่งชาติฯและจังหวัดชัยภูมิ)/ บ้านร่องกล้า จ.พิษณุโลก/ อุทัยธานี * โครงการปรับปรุงเส้นทางเข้าพื้นที่ * โครงการก่อสร้างแหล่งเก็บกักน้ำและระบบประปา เพื่อเพิ่ม ศักยภาพการท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติภูแลนคา / บ้า ร่องกล้า/ อุทัยธานี * โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ * โครงการประชุมสัมมนาเครือข่ายผู้ประกอบการด้านการ ท่องเที่ยว รูปธรรม/กิจกรรมร่วม *โครงการ “12 เดือน 7 ดาว 9 ตะวัน": นอนนับดาวที่มอหินขาว สโตเฮนจ์เมืองไทย จ.ชัยภูมิ * การส่งเสริมการตลาดประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวเชิงรุก * โครงการส่งเสริมการตลาดและประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวจังหวัดชัยภูมิ *การเสริมสร้างศักยภาพพื้นที่ *การจัดการทางการตลาด 127 127

128 policy กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงคมนาคม
การเชื่อมโยง Area VCP สู่ Policy VCP กรณีผลผลิตทางการท่องเที่ยว กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา กำหนดนโยบาย วิจัยและพัฒนา การตลาดและประชาสัมพันธ์ กระทรวงวัฒนธรรม กำหนดนโยบาย ทำนุบำรุงอุปถัมภ์ คุ้มครอง ส่งเสริมกิจกรรม ทางศาสนา ศิลปะ และ วัฒนธรรม สืบทอดการ ศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม กระทรวงคมนาคม กำหนดนโยบายและแผน พัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานดานการ ก่อสร้าง การขนส่ง จัดระบบและจัดระเบียบการขนส่ง กำกับดูแล การบริการ ขนส่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ กำหนดนโยบายและแผน สงวนและ อนุรักษ์ วิจัยและ พัฒนา กำกับ ดูแล ฟื้นฟู กระทรวงศึกษาธิการ (มหาวิทยาลับ) กำหนดนโยบาย การศึกษาเพื่อเข้าสู่การประกอบอาชีพ วิจัยและ พัฒนา บริการสังคม และชุมชน Area ความต้องการของชุมชน งานวิจัยในการส่งเสริมการท่องเที่ยว พัฒนากลไก ประสานงานและบูรณาการแผนการท่องเที่ยวหลัก 128 พัฒนาระบบ บริหารและจัดการ การท่องเที่ยว พัฒนาปัจจัยพื้นฐาน ด้านการท่องเที่ยว พัฒนาและปรับปรุง แหล่งท่องเที่ยว พัฒนา ศักยภาพ บุคลากร ส่งเสริม การตลาด ประชาสัมพันธ์ พัฒนาแหล่ง ท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืน

129 ปัจจัยความสำเร็จ (Key Success Factors)
หัวหน้ากลุ่มจังหวัดและผู้ว่าราชการจังหวัด การมีส่วนร่วมในจังหวัด/กลุ่มจังหวัดและภาคส่วนต่างๆ สมรรถนะของบุคลากรในการจัดทำแผน และระบบการบริหารจัดการ การบูรณาการของหน่วยงานกลางและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการสนับสนุนส่งเสริมขับเคลื่อนยุทธศาตร์จังหวัดและกลุ่มจังหวัด

130 โทร


ดาวน์โหลด ppt การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google