งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กระบวนการวางแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทำคำของบประมาณ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กระบวนการวางแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทำคำของบประมาณ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กระบวนการวางแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทำคำของบประมาณ
ภายใต้ พรบ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ฉบับที่ 7 ดร. สีลาภรณ์ บัวสาย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

2 การวางแผนพัฒนาจังหวัด
Concept : บูรณาการ (Integration) ความร่วมมือ (Collaboration)

3 ในแต่ละขั้นของงาน โดย
เครื่องมือสร้างบูรณาการและความร่วมมือ พื้นที่ สินค้า คน ? คลี่ขั้นตอน/งาน ที่จะต้องประสาน เชื่อมโยงกัน เป้าหมายร่วม แผนเงิน แผนคน ของแต่ละหน่วยงาน คิดโครงการที่ควรทำ ในแต่ละขั้นของงาน โดย เน้น collaboration

4 แผนจังหวัด นโยบายรัฐบาล/แผนพัฒนาฯ ชาติ/ แผนกระทรวง และอื่นๆ แผนงาน
แผนเงิน แผนจังหวัด แผนคน แผนคน ประเด็นปัญหา/สถานการณ์ ความค้องการของประชาชนในพื้นที่ 4

5 ภาคีการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด
ราชการบริหาร ส่วนกลางและ ภูมิภาค ผู้ว่าราชการ จังหวัด ผู้แทนภาค ประชาสังคม อำเภอละไม่เกิน 6 คน ผู้บริหาร องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ผู้แทนภาค ธุรกิจเอกชน ไม่เกิน 30 คน 5 5

6 Supply Demand side Supply side นโยบายรัฐ ยุทธศาสตร์จังหวัด
งบจังหวัด แผนพัฒนา จังหวัด งบภาครัฐอื่นๆ ภาคธุรกิจ งบภาคธุรกิจ งบ Function งบ Agenda ภาคชุมชน/ประชาสังคม งบ อปท. ระบบการบริหารจัดการแผนและงบประมาณจังหวัดที่ตอบสนองนโยบายภาครัฐ ภาคประชาชน และนำไปสู่การพัฒนาจังหวัดอย่างยั่งยืนได้ 6

7 ร่าง กลไกการพัฒนาแผนพัฒนาจังหวัด คณะทำงานพัฒนาร่างแผน ฯ
องค์กรชุมชน 1 ทิศทางภาคประชาชน+ ประชาสังคม + ธุรกิจ ประชาสังคม ท้องถิ่น เวทีประชาคมจังหวัด สื่อสาร มวลชน ธุรกิจ 2 คน วิชาการ คณะทำงานพัฒนาร่างแผน ฯ 20-25 คน 3 4 วิเคราะห์ สังเคราะห์ และยกร่างแผน ปฎิบัติการ บูรณาการกับ หน่วยราชการ

8 วาระการหารือ 1.3) ข้อเสนอต่อการทำงานร่วมกัน 1.ชุมชนท้องถิ่น/ประชาสังคม
1.1) ข้อเสนอต่อประเด็นเพื่อการพัฒนาใน แผนพัฒนาจังหวัด 1.2) ข้อเสนอต่อระบบการทำงานของจังหวัด 1.3) ข้อเสนอต่อการทำงานร่วมกัน 1.ชุมชนท้องถิ่น/ประชาสังคม /ธุรกิจ 2.1)แผนจังหวัดจะผสานความต้องการของภาคประชาชน/ ประชาสังคม/ธุรกิจและนโยบายรัฐได้อย่างไร 2.2)ทีมจังหวัดเตรียมการเพื่อรองรับ การวางแผนพัฒนาจังหวัดตามกฎหมายใหม่อย่างไร 2.3)ข้อเสนอของทีมจังหวัดต่อการพัฒนาศักยภาพของทีม เช่น ข้อมูล บุคคล ฯลฯและบทบาทหน่วยงานส่วนกลาง 2.หน่วยงานราชการจังหวัด/อำเภอ 3.กลุ่มองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3.1)บทบาทของ อปท.ในการบูรณาการแผนท้องถิ่นกับแผนจังหวัด 3.2)การจัดความสัมพันธ์ระหว่างแผนท้องถิ่นกับยุทธศาสตร์จังหวัด 3.3)ข้อเสนอของ อปท.ต่อการพัฒนาแผนและบทบาทส่วนกลาง 8 8 8

9 เวทีหารือแนวทางเตรียมการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดชัยภูมิ 1 สิงหาคม 2551 ณ ศาลากลางจังหวัดชัยภูมิ
9

10 ความเห็นภาคีการพัฒนาแผน
บูรณาการแผนจังหวัดโดย value chain จัดสรรงบประมาณตาม value chain พัฒนาระบบ KPI และ incentive ของ function กับ อปท. ให้สอดคล้องกับแผนจังหวัด เห็นด้วยกับระบบ value chain ขอร่วมพิจารณากับจังหวัดในการตัดปรับแผนงานเพื่อให้สอดคล้องกับการจัดลำดับความสำคัญ ระบบประเมินผลต้องเหมาะสม สอดรับกับแผนงบฯ ปรับแบบฟอร์มให้เป็นมาตรฐานเดียวกันไม่ควรแก้ไขบ่อย มีเวทีสร้างความเข้าใจเรื่องการทำแผนของจังหวัด ให้มีกระบวนการติดตามแผน จว. ที่เสนอจากภาคประชาชน ให้มีภาค ปชช. ร่วมในกลไกพิจารณาแผนจังหวัด ราชการ ส่วนกลาง (function) ผู้ว่าฯ ปรับแก้ระยะเวลาการทำแผน อปท. และแผนจังหวัด ให้มีเวลาในการบูรณาการ/ลดความซ้ำซ้อนของแผน อปท. ภาคประชาชน ประชาสังคม ความเห็นภาคีการพัฒนาแผน ผู้แทนภาค ธุรกิจเอกชน หน่วยงาน จังหวัด/อำเภอ ควรสนับสนุนการลงทุนโครงการพัฒนาตลาดผลผลิตการเกษตร ควรมีแผนส่งเสริมพลังงานทดแทน ควรส่งเสริม ปชส. การท่องเที่ยว ให้มีระบบข้อมูลฐานกลางที่ update พัฒนาศักยภาพการวิเคราะห์ข้อมูล/IT ตั้งทีมทำงานที่มาจากหลายหน่วยดูข้อมูลร่วมกัน และพิจาณาระบบโบนัสตามแผนงาน ผลงานจังหวัด 10 10

11 ข้อคิดเห็นเบื้องต้น ต่อการพัฒนาแผนจังหวัด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น ต่อการพัฒนาแผนจังหวัด 11

12 Supply & Value Chain Integration : Chili
พันธ์พริก/ ปุ๋ย ทำไร่พริก พริกสด พริกแห้ง ค้าปลีก ลูกค้า แปรรูป อาหาร ยา เครื่องสำอางค์ อื่นๆ ค้าส่ง Primary Activities ผลิต/ขนส่ง/ตลาด/ขาย/บริการ ขนส่ง ขนส่ง ขนส่ง ขนส่ง ขนส่ง ขนส่ง จากรูป จะเห็นห่วงโซ่อุปทาน หลายห่วง ได้แก่ กระบวนการผลิตพริก กระบวนการแปรรูปเป็นสินค้าต่างๆ กระบวนการค้าส่ง ซึ่งเมื่อมองให้ภาพรวมทุกห่วงโซ่จะเกี่ยวพันธ์กัน และจะเห็นได้ว่า ห่วงโซ่คุณค่าหรือ Value Chain จะประกอบด้วย Primary Activities ซึ่งเป็นกระบวนการของชาวไร่ และโรงงานเป็นพื้นฐาน ในขณะเดียวกัน ก็ต้องมีกิจกรรมสนับสนุนหรือ Support Activities ด้วย จึงจะทำให้เกิดคุณค่าในทุกช่วง ห่วงโซ่อุปทานแรก ได้แก่การผลิตพริก และพริกก็มาเป็น วัตถุดิบ หรือ input ในห่วงโซ่ต่อไป จึงต้องมีการเพิ่ม Value Chain ในทุกๆ ห่วงโซ่ ดังตัวอย่างต่อไป ขนส่ง ขนส่ง ขนส่ง Support Activities ปัจจัยพื้นฐาน /ทักษะ/วิธีการ/ระบบ/เทคโนโลยี/การจัดหา/การขนส่ง (แหล่งน้ำ/ถนน/ไฟฟ้า/ทักษะ :เกษตร/ผลิต/ตลาด/เงินทุน/อาหาร/ยา ฯ) 13 13

13 เกษตร/อุตสาหกรรม/อปท.
Value Chain ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ตัวอย่าง พัฒนากระบวนการผลิต : พริก เป้าหมาย : เกษตรกร กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์เกษตร การเก็บ เกี่ยว/ การแยก ผลผลิต การ ตรวจสอบ มาตรฐานและ การเก็บรักษา การจัดการ พื้นที่/ แปลงปลูก/ ปุ๋ย การส่งเสริม การคัดเลือก ใช้เมล็ด พันธุ์ดี ปรับ ปรุง ดินและน้ำ การจัด ศัตรู พืช การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน เกษตร/อุตสาหกรรม/อปท. หน่วยงานที่ส่งเสริม พริก: Chili 14 ที่มา : โครงการพัฒนาระบบการบริหารเครือข่ายโซ่อุปทานและโลจิสติกส์อุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตรตามระบบมาตรฐานปลอดภัยอาหาร พริก: Chilli พริก: Chilli

14 พริก: Chilli พริก: Chilli พริก: Chili
Value Chain ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ตัวอย่าง พัฒนากระบวนการแปรรูป : พริก กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มแปรรูป โรงงาน การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การคัดเลือก วัตถุดิบ วิจัย สูตรอาหาร /ยา/ เครื่องสำอางค์ ทักษะ บุคลากร พัฒนา กระบวน การผลิต มาตรฐาน/ ตรวจสอบ คุณภาพ เก็บรักษา หน่วยงานที่ส่งเสริม อุตสาหกรรม/สาธารณสุข/สภาอุตสาหกรรม/แรงงาน/อปท. พริก: Chili 15 ที่มา : โครงการพัฒนาระบบการบริหารเครือข่ายโซ่อุปทานและโลจิสติกส์อุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตรตามระบบมาตรฐานปลอดภัยอาหาร พริก: Chilli พริก: Chilli

15 การจัดหาเงินทุนและบริหารเงิน
Value Chain ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ตัวอย่าง พัฒนากระบวนการตลาดและการเงิน : พริก เลือกซื้อ วัตถุดิบและ แปรรูป ตามความ ต้องการ Packaging/ กำหนดราคา/ ช่องทางและ ส่งเสริมการขาย รู้จักความ ต้องการของ ลูกค้าแต่ละ กลุ่ม เลือกเมล็ด พันธุ์ดีเพื่อปลูก ช่องทางการ ขาย การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน เกษตรกรไร่พริก กลุ่ม/โรงงานแปรรูป การจัดหาเงินทุนและบริหารเงิน พาณิชย์/อุตสาหกรรม/ชมรมธนาคาร/หอการค้า/สภาอุตสาหกรรม/ท่องเที่ยว/อปท. หน่วยงานที่ส่งเสริม พริก: Chili 16 ที่มา : โครงการพัฒนาระบบการบริหารเครือข่ายโซ่อุปทานและโลจิสติกส์อุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตรตามระบบมาตรฐานปลอดภัยอาหาร

16 Value chain การบูรณาการแผนจังหวัด (ประเด็นพริก)
Primary Activities พัฒนา กระบวนการผลิต พัฒนา กระบวนการแปรรูป พัฒนา กระบวนการตลาด และการเงิน ผลลัพธ์ เพิ่มมูลค่า อุตสาหกรรมการผลิต ผลิต การแปรรูปพริก ในจังหวัด 2. เพิ่มประสิทธิภาพ ระบบการบริหารจัด การทั้งระบบ 3. เพิ่มศักยภาพ เกษตรกร 1. การจัดการพื้นที่/แปลงปลูก/ปุ๋ย : (อปท.) 2.การส่งเสริมการคัดเลือกใช้เมล็ดพันธุ์ดี : (กษ.) 3. การปรับปรุงดินและน้ำ : (พด. / ชป) 4. การจัดการศัตรูพืช : (กษ) 5. การเก็บเกี่ยว/การแยกผลผลิต (กษ.) 6. การตรวจสอบมาตรฐานและการเก็บรักษา (อก.) 1. การคัดเลือกวัตถุดิบ (อก.) 2. วิจัยสูตรอาหาร/ยา/เครื่องสำอาง (สธ.) 3. ทักษะบุคลากร (แรงงาน) 4. พัฒนากระบวนการผลิต (อุตสาหกรรม) 5. มาตรฐาน/ตรวจสอบคุณภาพ (อก.) 6. เก็บรักษา (อก.) 1. รู้จักความต้องการของลูกค้าแต่ละกลุ่ม (พณ.) 2. เลือกเมล็ดพันธุ์ดีเพื่อปลูกตามความต้องการ (กษ.) 3. รู้จักความต้องการของลูกค้าแต่ละกลุ่ม (อปท./ธนาคาร) 4. เลือกซื้อวัตถุดิบและแปรรูปตามความต้องการ (อปท.) 5. Packaging/ กำหนดราคา/ช่องทางและการส่งเสริมการขาย (พณ.) Support Activities ปัจจัยพื้นฐาน /ทักษะ/วิธีการ/ระบบ/เทคโนโลยี/การจัดหา/การขนส่ง (แหล่งน้ำ/ถนน/ไฟฟ้า/ทักษะ :เกษตร/ผลิต/ตลาด/เงินทุน/อาหาร/ยา ฯ)

17 ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น
เกิดกระบวนการร่วมคิดร่วมทำแผน ระหว่างภาคีต่างๆ อย่างเป็นระบบ มีเป้าหมายในทิศทางเดียวกันอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดพัฒนาการรวมกลุ่มของเกษตรกรที่เข้มแข็งขึ้น สามารถพัฒนาผลผลิตพริกได้มีคุณภาพสูง Brand Building Positioning คุณภาพดี เหมาะสมที่จะเป็นวัตถุดิบชั้นดีสำหรับอุตสาหกรรมทำอาหาร ยา เครื่องสำอางค์ หรืออื่นๆ และการบริโภคในครัวเรือน จูงใจให้เกิดอุตสาหกรรมแปรรูปพริกเพื่อเพิ่มมูลค่าในจังหวัด เนื่องจากใกล้แหล่งผลิตพริก ลดต้นทุน Logistic ต้องเตรียมกำลังแรงงาน Demand พริกชัยภูมิ มีมากขึ้น ส่งผลต่อราคาให้สูงขึ้นตาม ต้อง Balance ราคาสำหรับประชาชนบริโภค กับการอุตสาหกรรม พริก ชัยภูมิ 18

18 แนวการ พัฒนาแผน ชัยภูมิ 2553
Value Chain Management จัดทำแผนปฎิบัติการจังหวัด งานวิจัยเชิงประเด็น ที่ดิน,การจัดการน้ำ,การท่องเที่ยว,พริก,ไหม,สิ่งทอ,ข้าว,ส้มโอ,โคเนื้อ,เด็กและเยาวชน งานวิจัยเชิงพื้นที่ จว.บูรณาการ,การพัฒนาระบบแผนจังหวัด IO table 3).การบูรณาการแผนปฎิบัติการ สอดคล้องกับแผนบูรณาการ จว.,Function,อปท. 2).งานวิจัยเพื่อการพัฒนาพื้นที่ 4).การพัฒนา KPI ระบบ Incentive แนวการ พัฒนาแผน ชัยภูมิ 2553 ทีมจังหวัด ทีม Function ทีม อปท. ทีมชุมชนประชาสังคม ทีมภาคธุรกิจ 1).ยุทธศาสตร์พื้นที่ 5).การพัฒนาทีมงาน(แผนคน) ด้านการเกษตร การพัฒนาอุตสาหกรรม ท่องเที่ยว สังคมคุณภาพชีวิต ความเข้มแข็งชุมชน+การบริหารจัดการที่ดี 7).การติดตามสนับสนุน/ประเมิน 6).การจัดทำแผนงบประมาณ สอดคล้องกับ Value Chain

19 การสื่อสารพัฒนาแผนจังหวัด
ความสอดคล้องนโยบายและการปฎิบัติในทุกระดับ บทบาทหัวหน้าในการพัฒนาการรับรู้ ความเข้าใจและทิศทางร่วม การรับรู้ ความเข้าใจและทิศทางของแต่ละบุคคล การรับรู้ในสภาพการปฎิบัติการเดิม   สภาพแวดล้อมเดิม นำเสนอพิษณุโลก16กค51 20 นำเสนอพิษณุโลก16กค51สวัสดิการ_แพร่25มิย51

20 เครื่องมือ กระบวนการ


ดาวน์โหลด ppt กระบวนการวางแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทำคำของบประมาณ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google